กำลังดาวน์โหลด
  • Archives
เลย์เอาต์
แสดง:
บันทึก

แสดงผลการค้นหา: 74 ไฟล์ 

 
ประสิทธิ์พร จารีย์ ประธานฝ่ายประชาสัมพันธ์ของสมาคมสตรีนักธุรกิจวิชาชีพแห่งประเทศไทย จังหวัดขอนแก่นร่วมงานแข่งขันกีฬา
ประสิทธิ์พร จารีย์ 
 
 
ประสิทธิ์พร จารีย์ถ่ายภาพกับชาติชาย ชาธรรมา ในงานเลี้ยงเปิดตัว พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ ผู้สมัคร ส.ส. จังหวัดนครพนม พรรคความหวังใหม่ ที่จังหวัดขอนแก่น ทั้งสองคนเป็นผู้จัดรายการมัจจุราชที่มองไม่เห็นตัวในยุคปัจจุบัน (2554)
ประสิทธิ์พร จารีย์ 
 
 
จังหวัดต่าง ๆ ทั่วประเทศให้ข้าราชการสตรีเข้าร่วมฝึกเป็นอาสาสมัครรักษาดินแดนทั่วประเทศทั้งหมด 60,000 โดยจังหวัดขอนแก่นเปิดฝึกเป็นจังหวัดที่ 2 ต่อจากกรุงเทพฯ มีสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรัตนราชสุดา สิริโสภาพรรณวดีเป็นองค์ประธานสมาคมสตรีอาสาสมัครรักษาดินแดน คุณหญิงอุษณา ปราโมชเป็นประธานสมาคมฯ สำหรับจังหวัดขอนแก่นคุณประสิทธิ์พร จารีย์ข้าราชการ สปข.1 เข้าร่วมรับการฝึกอบรมพร้อมกับกุณฑลี บัวสุวรรณ อดีตรองอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ ขณะดำรงตำแหน่งเจ้าหน้าที่การเงิน สปข.1 ขณะนั้นนายถวัลย์ อุทัคเชนทร์เป็นผู้อำนวยการสำนักประชาสัมพันธ์เขต 1 และมีมยุรี แก้วก่า สุอังคณา สวัสดี  ในการฝึกอบรมต้องฝึกแบบทหาร ฝึกการปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือบ้านเมืองในยามวิกฤติ และไปเยี่ยมหน่วยทหารทั่วประเทศ และต้องอบรม 3 ดุม ๆ ละ 7 วัน ที่ค่ายศรีพัชรินทร์ โดยต้องแต่งกายชุดทหารสีเขียวมะกอกในการฝึก ในภาพได้รับดุม 3 จากคุณหญิงวรรณพร สุขเนตร หลังจากได้รับทั้ง 3 ดุมแล้วจึงได้เข้ารับพระราชทานเกียรติสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรัตนราชสุดา สิริโสภาพรรณวดี ไปรับที่วังรื่นฤดี
ประสิทธิ์พร จารีย์ 
 
 
จังหวัดต่าง ๆ ทั่วประเทศให้ข้าราชการสตรีเข้าร่วมฝึกเป็นอาสาสมัครรักษาดินแดนทั่วประเทศทั้งหมด 60,000 โดยจังหวัดขอนแก่นเปิดฝึกเป็นจังหวัดที่ 2 ต่อจากกรุงเทพฯ มีสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรัตนราชสุดา สิริโสภาพรรณวดีเป็นองค์ประธานสมาคมสตรีอาสาสมัครรักษาดินแดน คุณหญิงอุษณา ปราโมชเป็นประธานสมาคมฯ สำหรับจังหวัดขอนแก่นคุณประสิทธิ์พร จารีย์ข้าราชการ สปข.1 เข้าร่วมรับการฝึกอบรมพร้อมกับกุณฑลี บัวสุวรรณ อดีตรองอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์ ขณะดำรงตำแหน่งเจ้าหน้าที่การเงิน สปข.1 ขณะนั้นนายถวัลย์ อุทัคเชนทร์เป็นผู้อำนวยการสำนักประชาสัมพันธ์เขต 1 และมีมยุรี แก้วก่า สุอังคณา สวัสดี  ในการฝึกอบรมต้องฝึกแบบทหาร ฝึกการปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือบ้านเมืองในยามวิกฤติ และไปเยี่ยมหน่วยทหารทั่วประเทศ และต้องอบรม 3 ดุม ๆ ละ 7 วัน ที่ค่ายศรีพัชรินทร์ โดยต้องแต่งกายชุดทหารสีเขียวมะกอกในการฝึก ในภาพได้รับดุม 3 จากคุณหญิงวรรณพร สุขเนตร หลังจากได้รับทั้ง 3 ดุมแล้วจึงได้เข้ารับพระราชทานเกียรติสมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรัตนราชสุดา สิริโสภาพรรณวดี ไปรับที่วังรื่นฤดี
ประสิทธิ์พร จารีย์ 
 
 
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนารถ พร้อมด้วย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารีเสด็จพระราชดำเนินในพิธ๊เปิดมหาวิทยาขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น เป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งอยู่ที่ถนนมิตรภาพ ตำบลในเมือง อำเภอเมืองขอนแก่นเป็นมหาวิทยาลัยที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช โปรดเกล้าฯ ให้ก่อตั้งขึ้นและสถาปนาเป็นมหาวิทยาลัย โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้การศึกษาชั้นสูงขยายออกไปถึงภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งภูมิภาคที่สำคัญที่สุดส่วนหนึ่งของประเทศ ซึ่งต่อไปจะเป็นผลดีต่อการพัฒนายกฐานะความเป็นอยู่ของประชาชนในภูมิภาคนี้ พระองค์เสด็จฯมาทรงประกอบพิธีเปิดมหาวิทยาลัยเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2510 และได้รับการสถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2509ซึ่งถือเป็นวันสถาปนามหาวิทยาลัย  ในภาพประสิทธิ์พร จารีย์ได้รับคัดเลือกจากหน่วยงานและจังหวัดในฐานะเป็นเลขานุการลูกเสือชาวบ้านรุ่นที่ 1 ของขอนแก่น และเป็นตัวแทนจาก สทท.4 ขอนแก่น รับเสด็จถวายช่อดอกไม้ (เมื่ออายุ 25 ปี) ซึ่งประสิทธิ์พร จารีย์เข้ารับราชการในตำแหน่งผู้ประกาศเมื่อปี พ.ศ. 2505
ประสิทธิ์พร จารีย์ 
 
 
ประสิทธิ์พร จารีย์ ผู้ประกาศรุ่นแรกของ สทท.5 ขาว-ดำ ขอนแก่น ซึ่งเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรกในภูมิภาค เกิดวันศุกร์ที่ 17 ตุลาคม 2485 เป็นชาวขอนแก่นโดยกำเนิด เติบโตและเรียนหนังสือที่กรุงเทพฯ สำเร็จ ปวส.จากโรงเรียนเอี่ยมละออ (วิทยาลัยเอี่ยมละออ กรุงเทพฯ) หลังจากนั้นกลับบ้านที่ขอนแก่น และขี่จักรยานไปเที่ยวที่บึงแก่นนคร เห็นกำลังก่อสร้างสร้างสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยภาคอิสาน ภายหลังเมื่อเปิดทดลองการออกอากาศแล้วจึงรับสมัครผู้ประกาศหญิง เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้ประกาศสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ขอนแก่น ในปี 2505 มีผู้มาสมัครสอบ 150 คน หลังจากสมัครมีการทดสอบอ่าน สำเนียง เสียง ภาษา โดยมีคณะกรรมการจากหัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ ในจังหวัดขอนแก่น โดยนายรักษ์ศักดิ์ วัฒนพานิชเป็นหัวหน้ากองขณะนั้น หลังจากนั้นให้แสดงความสามารถพิเศษ ประสิทธิ์พร จารีย์รำกฤษฎาอภินิหาร ขั้นตอนต่อไปต้องทดสอบประกาศจริงเป็นเวลา 3 เดือน หลังจากนั้นจึงจะประกาศผลการสอบ จาก 150 คนเหลือ 10 คน หลังจากนั้นรอบที่ 2 ต้องทดลองออกอากาศ ประสิทธิ์พร จารีย์ได้หมายเลข 8 และคัดเหลือ 5 คน ทั้ง 5 คนนี้มีการทดสอบความประพฤติ การปฏิบัติตน มารยาทระหว่างปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งประสิทธิ์พร จารีย์ได้เป็น 1ใน 5 ผู้ประกาศหญิงชุดแรกพร้อมกับศจี มกรสาร สุมน จันทศรีคำ อารีย์ ทวีศักดิ์ ลำดวน พึ่งเนียม หลังจากนั้นจึงจะประกาศผล  ประสิทธิ์พร จารีย์ เป็นลูกจ้างประจำตำแหน่งผู้ประกาศ (2505) และเกษียณอายุราชการเมื่อ 30 กันยายน 2546 ในตำแหน่งผู้ประกาศ
ประสิทธิ์พร จารีย์ 
 
 
ประสิทธิ์พร จารีย์ ผู้ประกาศรุ่นแรกของ สทท.5 ขาว-ดำ ขอนแก่น ซึ่งเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรกในภูมิภาค เกิดวันศุกร์ที่ 17 ตุลาคม 2485 เป็นชาวขอนแก่นโดยกำเนิด เติบโตและเรียนหนังสือที่กรุงเทพฯ สำเร็จ ปวส.จากโรงเรียนเอี่ยมละออ (วิทยาลัยเอี่ยมละออ กรุงเทพฯ) หลังจากนั้นกลับบ้านที่ขอนแก่น และขี่จักรยานไปเที่ยวที่บึงแก่นนคร เห็นกำลังก่อสร้างสร้างสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยภาคอิสาน ภายหลังเมื่อเปิดทดลองการออกอากาศแล้วจึงรับสมัครผู้ประกาศหญิง เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้ประกาศสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ขอนแก่น ในปี 2505 มีผู้มาสมัครสอบ 150 คน หลังจากสมัครมีการทดสอบอ่าน สำเนียง เสียง ภาษา โดยมีคณะกรรมการจากหัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ ในจังหวัดขอนแก่น โดยนายรักษ์ศักดิ์ วัฒนพานิชเป็นหัวหน้ากองขณะนั้น หลังจากนั้นให้แสดงความสามารถพิเศษ ประสิทธิ์พร จารีย์รำกฤษฎาอภินิหาร ขั้นตอนต่อไปต้องทดสอบประกาศจริงเป็นเวลา 3 เดือน หลังจากนั้นจึงจะประกาศผลการสอบ จาก 150 คนเหลือ 10 คน หลังจากนั้นรอบที่ 2 ต้องทดลองออกอากาศ ประสิทธิ์พร จารีย์ได้หมายเลข 8 และคัดเหลือ 5 คน ทั้ง 5 คนนี้มีการทดสอบความประพฤติ การปฏิบัติตน มารยาทระหว่างปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งประสิทธิ์พร จารีย์ได้เป็น 1ใน 5 ผู้ประกาศหญิงชุดแรกพร้อมกับศจี มกรสาร สุมน จันทศรีคำ อารีย์ ทวีศักดิ์ ลำดวน พึ่งเนียม หลังจากนั้นจึงจะประกาศผล  ประสิทธิ์พร จารีย์ เป็นลูกจ้างประจำตำแหน่งผู้ประกาศ (2505) และเกษียณอายุราชการเมื่อ 30 กันยายน 2546 ในตำแหน่งผู้ประกาศ
ประสิทธิ์พร จารีย์ 
 
 
ประสิทธิ์พร จารีย์ ผู้ประกาศรุ่นแรกของ สทท.5 ขาว-ดำ ขอนแก่น ซึ่งเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรกในภูมิภาค เกิดวันศุกร์ที่ 17 ตุลาคม 2485 เป็นชาวขอนแก่นโดยกำเนิด เติบโตและเรียนหนังสือที่กรุงเทพฯ สำเร็จ ปวส.จากโรงเรียนเอี่ยมละออ (วิทยาลัยเอี่ยมละออ กรุงเทพฯ) หลังจากนั้นกลับบ้านที่ขอนแก่น และขี่จักรยานไปเที่ยวที่บึงแก่นนคร เห็นกำลังก่อสร้างสร้างสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยภาคอิสาน ภายหลังเมื่อเปิดทดลองการออกอากาศแล้วจึงรับสมัครผู้ประกาศหญิง เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้ประกาศสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ขอนแก่น ในปี 2505 มีผู้มาสมัครสอบ 150 คน หลังจากสมัครมีการทดสอบอ่าน สำเนียง เสียง ภาษา โดยมีคณะกรรมการจากหัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ ในจังหวัดขอนแก่น โดยนายรักษ์ศักดิ์ วัฒนพานิชเป็นหัวหน้ากองขณะนั้น หลังจากนั้นให้แสดงความสามารถพิเศษ ประสิทธิ์พร จารีย์รำกฤษฎาอภินิหาร ขั้นตอนต่อไปต้องทดสอบประกาศจริงเป็นเวลา 3 เดือน หลังจากนั้นจึงจะประกาศผลการสอบ จาก 150 คนเหลือ 10 คน หลังจากนั้นรอบที่ 2 ต้องทดลองออกอากาศ ประสิทธิ์พร จารีย์ได้หมายเลข 8 และคัดเหลือ 5 คน ทั้ง 5 คนนี้มีการทดสอบความประพฤติ การปฏิบัติตน มารยาทระหว่างปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งประสิทธิ์พร จารีย์ได้เป็น 1ใน 5 ผู้ประกาศหญิงชุดแรกพร้อมกับศจี มกรสาร สุมน จันทศรีคำ อารีย์ ทวีศักดิ์ ลำดวน พึ่งเนียม หลังจากนั้นจึงจะประกาศผล  ประสิทธิ์พร จารีย์ เป็นลูกจ้างประจำตำแหน่งผู้ประกาศ (2505) และเกษียณอายุราชการเมื่อ 30 กันยายน 2546 ในตำแหน่งผู้ประกาศ  ระหว่างปฏิบัติราชการจนกระทั่งเกษียณอายุราชการได้อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อสังคมด้านต่าง ๆ มากมาย จนได้รับรางวัลมากมายเช่นรางวัลเทพทองจากสมาคมนักวิทยุและโทรทัศน์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมป์ (นายวีระ ลิมปะพันธุ์ เป็นนายกสมาคม) รับมอบจาก ฯพณฯ พล.อ.ต.กำธน สินธวานนท์ องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ ในฐานะบุคคลดีเด่นด้านวิทยุกระจายเสียงประจำปี 2546 ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร ในวันอาทิตย์ที่ 15 สิงหาคม 2547 รางวัลเทพทองเป็นครั้งที่ 2 - เป็นสตรีคนแรกที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นนายกสมาคมสื่อมวลชนของจังหวัดขอนแก่น 2 สมัย ๆ ละ 2 ปี (พ.ศ. 2549 - 2553) และเป็นคนแรกผู้หญิงคนแรกที่ได้รับตำแหน่งนี้ - ในปี 2546 ได้รับเข็มเชิดชูเกียรติในฐานะที่ได้ช่วยประเทศชาติ เป็นผู้ประสานงานให้ข้อมูลกับกองทัพภาคที่ 2 เพื่อความมั่นคงของประเทศ จนได้รับโล่กำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติจาก พล.อ.อาทิตย์ กำลัง ผู้บัญชาการกองกำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติ แม่ทัพภาค 2 โดยได้ร่วมแก้ไขเหตุการณ์ไม่สงบของบ้านเมืองในวันที่ 1 - 3 เมษายน 2528 ให้กลับคืนสู่สภาพปกติ เพราะได้มีความสำนึกอันเดียวกันที่จะปกป้องเอกราชของบ้านเมืองไว้ จึงได้ร่วมกันปฏิบัติการด้วยจิตใจมั่นคงและแน่วแน่ ไม่หวั่นไหวต่ออันตรายใด ๆ อุทิศตนเพื่อหน้าที่ต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ สมกับที่เกิดมาในผืนแผ่นดินไทย ควรแก่การยกย่อง สรรเสริญเป็นอย่างยิ่ง และเคยเข้าร่วมปฏิวัติ 3 ครั้งในฐานะผู้ประสานงานในกองอำนวยการรักษาความมั่นคง โดยให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งกระจายเสียงของสถานีวิทยุแห่งประเทศไทยจังหวัดขอนแก่น  - ได้รับรางวัลสตรีดีเด่นในวันสตรีสากลของจังหวัดขอนแก่น ปี 2546 - ได้รับเชิญให้เข้าอบรมเพื่อเป็นอาสาสมัครของมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ รุ่นสุดท้าย ได้รับเลือกให้เป็นรองประธานมูลนิธิประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์จังหวัดขอนแก่น - เป็นกรรมการบริหารของสำนักเหล่ากาชาดจังหวัดขอนแก่นตั้งแต่ พ.ศ. 2510 ถึงปัจจุบัน และได้รับเหรียญสมานาคุณกาชาด จากสภากาชาดไทย ชั้น 3 ชั้น 2 ชั้น 1 โดยได้รับจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี   - ได้ร่วมฝึกลูกเสือชาวบ้านรุ่น 2 ของประเทศไทยต่อจาก กทม. ที่จังหวัดขอนแก่น ได้รับเลือกเป็นเลขานุการของรุ่น เรียกว่าลูกเสือชาวบ้านรุ่น 1 ของขอนแก่นและรุ่น 2 ของประเทศ นายบุญมา ทวิภักดิ์ อาจารย์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประธานรุ่นรับธงจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประสิทธิ์พร จารีย์รับพระราชทานพระบรมฉายาลักษณ์จากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
ประสิทธิ์พร จารีย์ 
 
 
ประสิทธิ์พร จารีย์ ผู้ประกาศรุ่นแรกของ สทท.5 ขาว-ดำ ขอนแก่น ซึ่งเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรกในภูมิภาค เกิดวันศุกร์ที่ 17 ตุลาคม 2485 เป็นชาวขอนแก่นโดยกำเนิด เติบโตและเรียนหนังสือที่กรุงเทพฯ สำเร็จ ปวส.จากโรงเรียนเอี่ยมละออ (วิทยาลัยเอี่ยมละออ กรุงเทพฯ) หลังจากนั้นกลับบ้านที่ขอนแก่น และขี่จักรยานไปเที่ยวที่บึงแก่นนคร เห็นกำลังก่อสร้างสร้างสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยภาคอิสาน ภายหลังเมื่อเปิดทดลองการออกอากาศแล้วจึงรับสมัครผู้ประกาศหญิง เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้ประกาศสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ขอนแก่น ในปี 2505 มีผู้มาสมัครสอบ 150 คน หลังจากสมัครมีการทดสอบอ่าน สำเนียง เสียง ภาษา โดยมีคณะกรรมการจากหัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ ในจังหวัดขอนแก่น โดยนายรักษ์ศักดิ์ วัฒนพานิชเป็นหัวหน้ากองขณะนั้น หลังจากนั้นให้แสดงความสามารถพิเศษ ประสิทธิ์พร จารีย์รำกฤษฎาอภินิหาร ขั้นตอนต่อไปต้องทดสอบประกาศจริงเป็นเวลา 3 เดือน หลังจากนั้นจึงจะประกาศผลการสอบ จาก 150 คนเหลือ 10 คน หลังจากนั้นรอบที่ 2 ต้องทดลองออกอากาศ ประสิทธิ์พร จารีย์ได้หมายเลข 8 และคัดเหลือ 5 คน ทั้ง 5 คนนี้มีการทดสอบความประพฤติ การปฏิบัติตน มารยาทระหว่างปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งประสิทธิ์พร จารีย์ได้เป็น 1ใน 5 ผู้ประกาศหญิงชุดแรกพร้อมกับศจี มกรสาร สุมน จันทศรีคำ อารีย์ ทวีศักดิ์ ลำดวน พึ่งเนียม หลังจากนั้นจึงจะประกาศผล  ประสิทธิ์พร จารีย์ เป็นลูกจ้างประจำตำแหน่งผู้ประกาศ (2505) และเกษียณอายุราชการเมื่อ 30 กันยายน 2546 ในตำแหน่งผู้ประกาศ  ระหว่างปฏิบัติราชการจนกระทั่งเกษียณอายุราชการได้อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อสังคมด้านต่าง ๆ มากมาย จนได้รับรางวัลมากมายเช่นรางวัลเทพทองจากสมาคมนักวิทยุและโทรทัศน์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมป์ (นายวีระ ลิมปะพันธุ์ เป็นนายกสมาคม) รับมอบจาก ฯพณฯ พล.อ.ต.กำธน สินธวานนท์ องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ ในฐานะบุคคลดีเด่นด้านวิทยุกระจายเสียงประจำปี 2546 ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร ในวันอาทิตย์ที่ 15 สิงหาคม 2547 รางวัลเทพทองเป็นครั้งที่ 2 - เป็นสตรีคนแรกที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นนายกสมาคมสื่อมวลชนของจังหวัดขอนแก่น 2 สมัย ๆ ละ 2 ปี (พ.ศ. 2549 - 2553) และเป็นคนแรกผู้หญิงคนแรกที่ได้รับตำแหน่งนี้ - ในปี 2546 ได้รับเข็มเชิดชูเกียรติในฐานะที่ได้ช่วยประเทศชาติ เป็นผู้ประสานงานให้ข้อมูลกับกองทัพภาคที่ 2 เพื่อความมั่นคงของประเทศ จนได้รับโล่กำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติจาก พล.อ.อาทิตย์ กำลัง ผู้บัญชาการกองกำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติ แม่ทัพภาค 2 โดยได้ร่วมแก้ไขเหตุการณ์ไม่สงบของบ้านเมืองในวันที่ 1 - 3 เมษายน 2528 ให้กลับคืนสู่สภาพปกติ เพราะได้มีความสำนึกอันเดียวกันที่จะปกป้องเอกราชของบ้านเมืองไว้ จึงได้ร่วมกันปฏิบัติการด้วยจิตใจมั่นคงและแน่วแน่ ไม่หวั่นไหวต่ออันตรายใด ๆ อุทิศตนเพื่อหน้าที่ต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ สมกับที่เกิดมาในผืนแผ่นดินไทย ควรแก่การยกย่อง สรรเสริญเป็นอย่างยิ่ง และเคยเข้าร่วมปฏิวัติ 3 ครั้งในฐานะผู้ประสานงานในกองอำนวยการรักษาความมั่นคง โดยให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งกระจายเสียงของสถานีวิทยุแห่งประเทศไทยจังหวัดขอนแก่น  - ได้รับรางวัลสตรีดีเด่นในวันสตรีสากลของจังหวัดขอนแก่น ปี 2546 - ได้รับเชิญให้เข้าอบรมเพื่อเป็นอาสาสมัครของมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ รุ่นสุดท้าย ได้รับเลือกให้เป็นรองประธานมูลนิธิประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์จังหวัดขอนแก่น - เป็นกรรมการบริหารของสำนักเหล่ากาชาดจังหวัดขอนแก่นตั้งแต่ พ.ศ. 2510 ถึงปัจจุบัน และได้รับเหรียญสมานาคุณกาชาด จากสภากาชาดไทย ชั้น 3 ชั้น 2 ชั้น 1 โดยได้รับจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี   - ได้ร่วมฝึกลูกเสือชาวบ้านรุ่น 2 ของประเทศไทยต่อจาก กทม. ที่จังหวัดขอนแก่น ได้รับเลือกเป็นเลขานุการของรุ่น เรียกว่าลูกเสือชาวบ้านรุ่น 1 ของขอนแก่นและรุ่น 2 ของประเทศ นายบุญมา ทวิภักดิ์ อาจารย์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประธานรุ่นรับธงจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประสิทธิ์พร จารีย์รับพระราชทานพระบรมฉายาลักษณ์จากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
ประสิทธิ์พร จารีย์ 
 
 
ประสิทธิ์พร จารีย์ ผู้ประกาศรุ่นแรกของ สทท.5 ขาว-ดำ ขอนแก่น ซึ่งเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรกในภูมิภาค เกิดวันศุกร์ที่ 17 ตุลาคม 2485 เป็นชาวขอนแก่นโดยกำเนิด เติบโตและเรียนหนังสือที่กรุงเทพฯ สำเร็จ ปวส.จากโรงเรียนเอี่ยมละออ (วิทยาลัยเอี่ยมละออ กรุงเทพฯ) หลังจากนั้นกลับบ้านที่ขอนแก่น และขี่จักรยานไปเที่ยวที่บึงแก่นนคร เห็นกำลังก่อสร้างสร้างสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยภาคอิสาน ภายหลังเมื่อเปิดทดลองการออกอากาศแล้วจึงรับสมัครผู้ประกาศหญิง เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้ประกาศสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ขอนแก่น ในปี 2505 มีผู้มาสมัครสอบ 150 คน หลังจากสมัครมีการทดสอบอ่าน สำเนียง เสียง ภาษา โดยมีคณะกรรมการจากหัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ ในจังหวัดขอนแก่น โดยนายรักษ์ศักดิ์ วัฒนพานิชเป็นหัวหน้ากองขณะนั้น หลังจากนั้นให้แสดงความสามารถพิเศษ ประสิทธิ์พร จารีย์รำกฤษฎาอภินิหาร ขั้นตอนต่อไปต้องทดสอบประกาศจริงเป็นเวลา 3 เดือน หลังจากนั้นจึงจะประกาศผลการสอบ จาก 150 คนเหลือ 10 คน หลังจากนั้นรอบที่ 2 ต้องทดลองออกอากาศ ประสิทธิ์พร จารีย์ได้หมายเลข 8 และคัดเหลือ 5 คน ทั้ง 5 คนนี้มีการทดสอบความประพฤติ การปฏิบัติตน มารยาทระหว่างปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งประสิทธิ์พร จารีย์ได้เป็น 1ใน 5 ผู้ประกาศหญิงชุดแรกพร้อมกับศจี มกรสาร สุมน จันทศรีคำ อารีย์ ทวีศักดิ์ ลำดวน พึ่งเนียม หลังจากนั้นจึงจะประกาศผล  ประสิทธิ์พร จารีย์ เป็นลูกจ้างประจำตำแหน่งผู้ประกาศ (2505) และเกษียณอายุราชการเมื่อ 30 กันยายน 2546 ในตำแหน่งผู้ประกาศ  ระหว่างปฏิบัติราชการจนกระทั่งเกษียณอายุราชการได้อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อสังคมด้านต่าง ๆ มากมาย จนได้รับรางวัลมากมายเช่นรางวัลเทพทองจากสมาคมนักวิทยุและโทรทัศน์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมป์ (นายวีระ ลิมปะพันธุ์ เป็นนายกสมาคม) รับมอบจาก ฯพณฯ พล.อ.ต.กำธน สินธวานนท์ องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ ในฐานะบุคคลดีเด่นด้านวิทยุกระจายเสียงประจำปี 2546 ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร ในวันอาทิตย์ที่ 15 สิงหาคม 2547 รางวัลเทพทองเป็นครั้งที่ 2 - เป็นสตรีคนแรกที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นนายกสมาคมสื่อมวลชนของจังหวัดขอนแก่น 2 สมัย ๆ ละ 2 ปี (พ.ศ. 2549 - 2553) และเป็นคนแรกผู้หญิงคนแรกที่ได้รับตำแหน่งนี้ - ในปี 2546 ได้รับเข็มเชิดชูเกียรติในฐานะที่ได้ช่วยประเทศชาติ เป็นผู้ประสานงานให้ข้อมูลกับกองทัพภาคที่ 2 เพื่อความมั่นคงของประเทศ จนได้รับโล่กำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติจาก พล.อ.อาทิตย์ กำลัง ผู้บัญชาการกองกำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติ แม่ทัพภาค 2 โดยได้ร่วมแก้ไขเหตุการณ์ไม่สงบของบ้านเมืองในวันที่ 1 - 3 เมษายน 2528 ให้กลับคืนสู่สภาพปกติ เพราะได้มีความสำนึกอันเดียวกันที่จะปกป้องเอกราชของบ้านเมืองไว้ จึงได้ร่วมกันปฏิบัติการด้วยจิตใจมั่นคงและแน่วแน่ ไม่หวั่นไหวต่ออันตรายใด ๆ อุทิศตนเพื่อหน้าที่ต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ สมกับที่เกิดมาในผืนแผ่นดินไทย ควรแก่การยกย่อง สรรเสริญเป็นอย่างยิ่ง และเคยเข้าร่วมปฏิวัติ 3 ครั้งในฐานะผู้ประสานงานในกองอำนวยการรักษาความมั่นคง โดยให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งกระจายเสียงของสถานีวิทยุแห่งประเทศไทยจังหวัดขอนแก่น  - ได้รับรางวัลสตรีดีเด่นในวันสตรีสากลของจังหวัดขอนแก่น ปี 2546 - ได้รับเชิญให้เข้าอบรมเพื่อเป็นอาสาสมัครของมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ รุ่นสุดท้าย ได้รับเลือกให้เป็นรองประธานมูลนิธิประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์จังหวัดขอนแก่น - เป็นกรรมการบริหารของสำนักเหล่ากาชาดจังหวัดขอนแก่นตั้งแต่ พ.ศ. 2510 ถึงปัจจุบัน และได้รับเหรียญสมานาคุณกาชาด จากสภากาชาดไทย ชั้น 3 ชั้น 2 ชั้น 1 โดยได้รับจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี   - ได้ร่วมฝึกลูกเสือชาวบ้านรุ่น 2 ของประเทศไทยต่อจาก กทม. ที่จังหวัดขอนแก่น ได้รับเลือกเป็นเลขานุการของรุ่น เรียกว่าลูกเสือชาวบ้านรุ่น 1 ของขอนแก่นและรุ่น 2 ของประเทศ นายบุญมา ทวิภักดิ์ อาจารย์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประธานรุ่นรับธงจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประสิทธิ์พร จารีย์รับพระราชทานพระบรมฉายาลักษณ์จากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
ประสิทธิ์พร จารีย์ 
 
 
ประสิทธิ์พร จารีย์ ผู้ประกาศรุ่นแรกของ สทท.5 ขาว-ดำ ขอนแก่น ซึ่งเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรกในภูมิภาค เกิดวันศุกร์ที่ 17 ตุลาคม 2485 เป็นชาวขอนแก่นโดยกำเนิด เติบโตและเรียนหนังสือที่กรุงเทพฯ สำเร็จ ปวส.จากโรงเรียนเอี่ยมละออ (วิทยาลัยเอี่ยมละออ กรุงเทพฯ) หลังจากนั้นกลับบ้านที่ขอนแก่น และขี่จักรยานไปเที่ยวที่บึงแก่นนคร เห็นกำลังก่อสร้างสร้างสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยภาคอิสาน ภายหลังเมื่อเปิดทดลองการออกอากาศแล้วจึงรับสมัครผู้ประกาศหญิง เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้ประกาศสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ขอนแก่น ในปี 2505 มีผู้มาสมัครสอบ 150 คน หลังจากสมัครมีการทดสอบอ่าน สำเนียง เสียง ภาษา โดยมีคณะกรรมการจากหัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ ในจังหวัดขอนแก่น โดยนายรักษ์ศักดิ์ วัฒนพานิชเป็นหัวหน้ากองขณะนั้น หลังจากนั้นให้แสดงความสามารถพิเศษ ประสิทธิ์พร จารีย์รำกฤษฎาอภินิหาร ขั้นตอนต่อไปต้องทดสอบประกาศจริงเป็นเวลา 3 เดือน หลังจากนั้นจึงจะประกาศผลการสอบ จาก 150 คนเหลือ 10 คน หลังจากนั้นรอบที่ 2 ต้องทดลองออกอากาศ ประสิทธิ์พร จารีย์ได้หมายเลข 8 และคัดเหลือ 5 คน ทั้ง 5 คนนี้มีการทดสอบความประพฤติ การปฏิบัติตน มารยาทระหว่างปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งประสิทธิ์พร จารีย์ได้เป็น 1ใน 5 ผู้ประกาศหญิงชุดแรกพร้อมกับศจี มกรสาร สุมน จันทศรีคำ อารีย์ ทวีศักดิ์ ลำดวน พึ่งเนียม หลังจากนั้นจึงจะประกาศผล  ประสิทธิ์พร จารีย์ เป็นลูกจ้างประจำตำแหน่งผู้ประกาศ (2505) และเกษียณอายุราชการเมื่อ 30 กันยายน 2546 ในตำแหน่งผู้ประกาศ  ระหว่างปฏิบัติราชการจนกระทั่งเกษียณอายุราชการได้อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อสังคมด้านต่าง ๆ มากมาย จนได้รับรางวัลมากมายเช่นรางวัลเทพทองจากสมาคมนักวิทยุและโทรทัศน์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมป์ (นายวีระ ลิมปะพันธุ์ เป็นนายกสมาคม) รับมอบจาก ฯพณฯ พล.อ.ต.กำธน สินธวานนท์ องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ ในฐานะบุคคลดีเด่นด้านวิทยุกระจายเสียงประจำปี 2546 ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร ในวันอาทิตย์ที่ 15 สิงหาคม 2547 รางวัลเทพทองเป็นครั้งที่ 2 - เป็นสตรีคนแรกที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นนายกสมาคมสื่อมวลชนของจังหวัดขอนแก่น 2 สมัย ๆ ละ 2 ปี (พ.ศ. 2549 - 2553) และเป็นคนแรกผู้หญิงคนแรกที่ได้รับตำแหน่งนี้ - ในปี 2546 ได้รับเข็มเชิดชูเกียรติในฐานะที่ได้ช่วยประเทศชาติ เป็นผู้ประสานงานให้ข้อมูลกับกองทัพภาคที่ 2 เพื่อความมั่นคงของประเทศ จนได้รับโล่กำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติจาก พล.อ.อาทิตย์ กำลัง ผู้บัญชาการกองกำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติ แม่ทัพภาค 2 โดยได้ร่วมแก้ไขเหตุการณ์ไม่สงบของบ้านเมืองในวันที่ 1 - 3 เมษายน 2528 ให้กลับคืนสู่สภาพปกติ เพราะได้มีความสำนึกอันเดียวกันที่จะปกป้องเอกราชของบ้านเมืองไว้ จึงได้ร่วมกันปฏิบัติการด้วยจิตใจมั่นคงและแน่วแน่ ไม่หวั่นไหวต่ออันตรายใด ๆ อุทิศตนเพื่อหน้าที่ต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ สมกับที่เกิดมาในผืนแผ่นดินไทย ควรแก่การยกย่อง สรรเสริญเป็นอย่างยิ่ง และเคยเข้าร่วมปฏิวัติ 3 ครั้งในฐานะผู้ประสานงานในกองอำนวยการรักษาความมั่นคง โดยให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งกระจายเสียงของสถานีวิทยุแห่งประเทศไทยจังหวัดขอนแก่น  - ได้รับรางวัลสตรีดีเด่นในวันสตรีสากลของจังหวัดขอนแก่น ปี 2546 - ได้รับเชิญให้เข้าอบรมเพื่อเป็นอาสาสมัครของมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ รุ่นสุดท้าย ได้รับเลือกให้เป็นรองประธานมูลนิธิประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์จังหวัดขอนแก่น - เป็นกรรมการบริหารของสำนักเหล่ากาชาดจังหวัดขอนแก่นตั้งแต่ พ.ศ. 2510 ถึงปัจจุบัน และได้รับเหรียญสมานาคุณกาชาด จากสภากาชาดไทย ชั้น 3 ชั้น 2 ชั้น 1 โดยได้รับจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี   - ได้ร่วมฝึกลูกเสือชาวบ้านรุ่น 2 ของประเทศไทยต่อจาก กทม. ที่จังหวัดขอนแก่น ได้รับเลือกเป็นเลขานุการของรุ่น เรียกว่าลูกเสือชาวบ้านรุ่น 1 ของขอนแก่นและรุ่น 2 ของประเทศ นายบุญมา ทวิภักดิ์ อาจารย์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประธานรุ่นรับธงจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประสิทธิ์พร จารีย์รับพระราชทานพระบรมฉายาลักษณ์จากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
ประสิทธิ์พร จารีย์ 
 
 
ประสิทธิ์พร จารีย์ ผู้ประกาศรุ่นแรกของ สทท.5 ขาว-ดำ ขอนแก่น ซึ่งเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรกในภูมิภาค เกิดวันศุกร์ที่ 17 ตุลาคม 2485 เป็นชาวขอนแก่นโดยกำเนิด เติบโตและเรียนหนังสือที่กรุงเทพฯ สำเร็จ ปวส.จากโรงเรียนเอี่ยมละออ (วิทยาลัยเอี่ยมละออ กรุงเทพฯ) หลังจากนั้นกลับบ้านที่ขอนแก่น และขี่จักรยานไปเที่ยวที่บึงแก่นนคร เห็นกำลังก่อสร้างสร้างสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยภาคอิสาน ภายหลังเมื่อเปิดทดลองการออกอากาศแล้วจึงรับสมัครผู้ประกาศหญิง เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้ประกาศสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ขอนแก่น ในปี 2505 มีผู้มาสมัครสอบ 150 คน หลังจากสมัครมีการทดสอบอ่าน สำเนียง เสียง ภาษา โดยมีคณะกรรมการจากหัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ ในจังหวัดขอนแก่น โดยนายรักษ์ศักดิ์ วัฒนพานิชเป็นหัวหน้ากองขณะนั้น หลังจากนั้นให้แสดงความสามารถพิเศษ ประสิทธิ์พร จารีย์รำกฤษฎาอภินิหาร ขั้นตอนต่อไปต้องทดสอบประกาศจริงเป็นเวลา 3 เดือน หลังจากนั้นจึงจะประกาศผลการสอบ จาก 150 คนเหลือ 10 คน หลังจากนั้นรอบที่ 2 ต้องทดลองออกอากาศ ประสิทธิ์พร จารีย์ได้หมายเลข 8 และคัดเหลือ 5 คน ทั้ง 5 คนนี้มีการทดสอบความประพฤติ การปฏิบัติตน มารยาทระหว่างปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งประสิทธิ์พร จารีย์ได้เป็น 1ใน 5 ผู้ประกาศหญิงชุดแรกพร้อมกับศจี มกรสาร สุมน จันทศรีคำ อารีย์ ทวีศักดิ์ ลำดวน พึ่งเนียม หลังจากนั้นจึงจะประกาศผล  ประสิทธิ์พร จารีย์ เป็นลูกจ้างประจำตำแหน่งผู้ประกาศ (2505) และเกษียณอายุราชการเมื่อ 30 กันยายน 2546 ในตำแหน่งผู้ประกาศ  ระหว่างปฏิบัติราชการจนกระทั่งเกษียณอายุราชการได้อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อสังคมด้านต่าง ๆ มากมาย จนได้รับรางวัลมากมายเช่นรางวัลเทพทองจากสมาคมนักวิทยุและโทรทัศน์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมป์ (นายวีระ ลิมปะพันธุ์ เป็นนายกสมาคม) รับมอบจาก ฯพณฯ พล.อ.ต.กำธน สินธวานนท์ องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ ในฐานะบุคคลดีเด่นด้านวิทยุกระจายเสียงประจำปี 2546 ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร ในวันอาทิตย์ที่ 15 สิงหาคม 2547 รางวัลเทพทองเป็นครั้งที่ 2 - เป็นสตรีคนแรกที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นนายกสมาคมสื่อมวลชนของจังหวัดขอนแก่น 2 สมัย ๆ ละ 2 ปี (พ.ศ. 2549 - 2553) และเป็นคนแรกผู้หญิงคนแรกที่ได้รับตำแหน่งนี้ - ในปี 2546 ได้รับเข็มเชิดชูเกียรติในฐานะที่ได้ช่วยประเทศชาติ เป็นผู้ประสานงานให้ข้อมูลกับกองทัพภาคที่ 2 เพื่อความมั่นคงของประเทศ จนได้รับโล่กำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติจาก พล.อ.อาทิตย์ กำลัง ผู้บัญชาการกองกำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติ แม่ทัพภาค 2 โดยได้ร่วมแก้ไขเหตุการณ์ไม่สงบของบ้านเมืองในวันที่ 1 - 3 เมษายน 2528 ให้กลับคืนสู่สภาพปกติ เพราะได้มีความสำนึกอันเดียวกันที่จะปกป้องเอกราชของบ้านเมืองไว้ จึงได้ร่วมกันปฏิบัติการด้วยจิตใจมั่นคงและแน่วแน่ ไม่หวั่นไหวต่ออันตรายใด ๆ อุทิศตนเพื่อหน้าที่ต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ สมกับที่เกิดมาในผืนแผ่นดินไทย ควรแก่การยกย่อง สรรเสริญเป็นอย่างยิ่ง และเคยเข้าร่วมปฏิวัติ 3 ครั้งในฐานะผู้ประสานงานในกองอำนวยการรักษาความมั่นคง โดยให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งกระจายเสียงของสถานีวิทยุแห่งประเทศไทยจังหวัดขอนแก่น  - ได้รับรางวัลสตรีดีเด่นในวันสตรีสากลของจังหวัดขอนแก่น ปี 2546 - ได้รับเชิญให้เข้าอบรมเพื่อเป็นอาสาสมัครของมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ รุ่นสุดท้าย ได้รับเลือกให้เป็นรองประธานมูลนิธิประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์จังหวัดขอนแก่น - เป็นกรรมการบริหารของสำนักเหล่ากาชาดจังหวัดขอนแก่นตั้งแต่ พ.ศ. 2510 ถึงปัจจุบัน และได้รับเหรียญสมานาคุณกาชาด จากสภากาชาดไทย ชั้น 3 ชั้น 2 ชั้น 1 โดยได้รับจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี   - ได้ร่วมฝึกลูกเสือชาวบ้านรุ่น 2 ของประเทศไทยต่อจาก กทม. ที่จังหวัดขอนแก่น ได้รับเลือกเป็นเลขานุการของรุ่น เรียกว่าลูกเสือชาวบ้านรุ่น 1 ของขอนแก่นและรุ่น 2 ของประเทศ นายบุญมา ทวิภักดิ์ อาจารย์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประธานรุ่นรับธงจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประสิทธิ์พร จารีย์รับพระราชทานพระบรมฉายาลักษณ์จากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
ประสิทธิ์พร จารีย์ 
 
 
ประสิทธิ์พร จารีย์ ผู้ประกาศรุ่นแรกของ สทท.5 ขาว-ดำ ขอนแก่น ซึ่งเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรกในภูมิภาค เกิดวันศุกร์ที่ 17 ตุลาคม 2485 เป็นชาวขอนแก่นโดยกำเนิด เติบโตและเรียนหนังสือที่กรุงเทพฯ สำเร็จ ปวส.จากโรงเรียนเอี่ยมละออ (วิทยาลัยเอี่ยมละออ กรุงเทพฯ) หลังจากนั้นกลับบ้านที่ขอนแก่น และขี่จักรยานไปเที่ยวที่บึงแก่นนคร เห็นกำลังก่อสร้างสร้างสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยภาคอิสาน ภายหลังเมื่อเปิดทดลองการออกอากาศแล้วจึงรับสมัครผู้ประกาศหญิง เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้ประกาศสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ขอนแก่น ในปี 2505 มีผู้มาสมัครสอบ 150 คน หลังจากสมัครมีการทดสอบอ่าน สำเนียง เสียง ภาษา โดยมีคณะกรรมการจากหัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ ในจังหวัดขอนแก่น โดยนายรักษ์ศักดิ์ วัฒนพานิชเป็นหัวหน้ากองขณะนั้น หลังจากนั้นให้แสดงความสามารถพิเศษ ประสิทธิ์พร จารีย์รำกฤษฎาอภินิหาร ขั้นตอนต่อไปต้องทดสอบประกาศจริงเป็นเวลา 3 เดือน หลังจากนั้นจึงจะประกาศผลการสอบ จาก 150 คนเหลือ 10 คน หลังจากนั้นรอบที่ 2 ต้องทดลองออกอากาศ ประสิทธิ์พร จารีย์ได้หมายเลข 8 และคัดเหลือ 5 คน ทั้ง 5 คนนี้มีการทดสอบความประพฤติ การปฏิบัติตน มารยาทระหว่างปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งประสิทธิ์พร จารีย์ได้เป็น 1ใน 5 ผู้ประกาศหญิงชุดแรกพร้อมกับศจี มกรสาร สุมน จันทศรีคำ อารีย์ ทวีศักดิ์ ลำดวน พึ่งเนียม หลังจากนั้นจึงจะประกาศผล  ประสิทธิ์พร จารีย์ เป็นลูกจ้างประจำตำแหน่งผู้ประกาศ (2505) และเกษียณอายุราชการเมื่อ 30 กันยายน 2546 ในตำแหน่งผู้ประกาศ  ระหว่างปฏิบัติราชการจนกระทั่งเกษียณอายุราชการได้อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อสังคมด้านต่าง ๆ มากมาย จนได้รับรางวัลมากมายเช่นรางวัลเทพทองจากสมาคมนักวิทยุและโทรทัศน์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมป์ (นายวีระ ลิมปะพันธุ์ เป็นนายกสมาคม) รับมอบจาก ฯพณฯ พล.อ.ต.กำธน สินธวานนท์ องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ ในฐานะบุคคลดีเด่นด้านวิทยุกระจายเสียงประจำปี 2546 ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร ในวันอาทิตย์ที่ 15 สิงหาคม 2547 รางวัลเทพทองเป็นครั้งที่ 2 - เป็นสตรีคนแรกที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นนายกสมาคมสื่อมวลชนของจังหวัดขอนแก่น 2 สมัย ๆ ละ 2 ปี (พ.ศ. 2549 - 2553) และเป็นคนแรกผู้หญิงคนแรกที่ได้รับตำแหน่งนี้ - ในปี 2546 ได้รับเข็มเชิดชูเกียรติในฐานะที่ได้ช่วยประเทศชาติ เป็นผู้ประสานงานให้ข้อมูลกับกองทัพภาคที่ 2 เพื่อความมั่นคงของประเทศ จนได้รับโล่กำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติจาก พล.อ.อาทิตย์ กำลัง ผู้บัญชาการกองกำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติ แม่ทัพภาค 2 โดยได้ร่วมแก้ไขเหตุการณ์ไม่สงบของบ้านเมืองในวันที่ 1 - 3 เมษายน 2528 ให้กลับคืนสู่สภาพปกติ เพราะได้มีความสำนึกอันเดียวกันที่จะปกป้องเอกราชของบ้านเมืองไว้ จึงได้ร่วมกันปฏิบัติการด้วยจิตใจมั่นคงและแน่วแน่ ไม่หวั่นไหวต่ออันตรายใด ๆ อุทิศตนเพื่อหน้าที่ต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ สมกับที่เกิดมาในผืนแผ่นดินไทย ควรแก่การยกย่อง สรรเสริญเป็นอย่างยิ่ง และเคยเข้าร่วมปฏิวัติ 3 ครั้งในฐานะผู้ประสานงานในกองอำนวยการรักษาความมั่นคง โดยให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งกระจายเสียงของสถานีวิทยุแห่งประเทศไทยจังหวัดขอนแก่น  - ได้รับรางวัลสตรีดีเด่นในวันสตรีสากลของจังหวัดขอนแก่น ปี 2546 - ได้รับเชิญให้เข้าอบรมเพื่อเป็นอาสาสมัครของมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ รุ่นสุดท้าย ได้รับเลือกให้เป็นรองประธานมูลนิธิประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์จังหวัดขอนแก่น - เป็นกรรมการบริหารของสำนักเหล่ากาชาดจังหวัดขอนแก่นตั้งแต่ พ.ศ. 2510 ถึงปัจจุบัน และได้รับเหรียญสมานาคุณกาชาด จากสภากาชาดไทย ชั้น 3 ชั้น 2 ชั้น 1 โดยได้รับจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี   - ได้ร่วมฝึกลูกเสือชาวบ้านรุ่น 2 ของประเทศไทยต่อจาก กทม. ที่จังหวัดขอนแก่น ได้รับเลือกเป็นเลขานุการของรุ่น เรียกว่าลูกเสือชาวบ้านรุ่น 1 ของขอนแก่นและรุ่น 2 ของประเทศ นายบุญมา ทวิภักดิ์ อาจารย์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประธานรุ่นรับธงจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประสิทธิ์พร จารีย์รับพระราชทานพระบรมฉายาลักษณ์จากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
ประสิทธิ์พร จารีย์ 
 
 
ประสิทธิ์พร จารีย์ ผู้ประกาศรุ่นแรกของ สทท.5 ขาว-ดำ ขอนแก่น ซึ่งเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรกในภูมิภาค เกิดวันศุกร์ที่ 17 ตุลาคม 2485 เป็นชาวขอนแก่นโดยกำเนิด เติบโตและเรียนหนังสือที่กรุงเทพฯ สำเร็จ ปวส.จากโรงเรียนเอี่ยมละออ (วิทยาลัยเอี่ยมละออ กรุงเทพฯ) หลังจากนั้นกลับบ้านที่ขอนแก่น และขี่จักรยานไปเที่ยวที่บึงแก่นนคร เห็นกำลังก่อสร้างสร้างสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยภาคอิสาน ภายหลังเมื่อเปิดทดลองการออกอากาศแล้วจึงรับสมัครผู้ประกาศหญิง เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้ประกาศสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ขอนแก่น ในปี 2505 มีผู้มาสมัครสอบ 150 คน หลังจากสมัครมีการทดสอบอ่าน สำเนียง เสียง ภาษา โดยมีคณะกรรมการจากหัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ ในจังหวัดขอนแก่น โดยนายรักษ์ศักดิ์ วัฒนพานิชเป็นหัวหน้ากองขณะนั้น หลังจากนั้นให้แสดงความสามารถพิเศษ ประสิทธิ์พร จารีย์รำกฤษฎาอภินิหาร ขั้นตอนต่อไปต้องทดสอบประกาศจริงเป็นเวลา 3 เดือน หลังจากนั้นจึงจะประกาศผลการสอบ จาก 150 คนเหลือ 10 คน หลังจากนั้นรอบที่ 2 ต้องทดลองออกอากาศ ประสิทธิ์พร จารีย์ได้หมายเลข 8 และคัดเหลือ 5 คน ทั้ง 5 คนนี้มีการทดสอบความประพฤติ การปฏิบัติตน มารยาทระหว่างปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งประสิทธิ์พร จารีย์ได้เป็น 1ใน 5 ผู้ประกาศหญิงชุดแรกพร้อมกับศจี มกรสาร สุมน จันทศรีคำ อารีย์ ทวีศักดิ์ ลำดวน พึ่งเนียม หลังจากนั้นจึงจะประกาศผล  ประสิทธิ์พร จารีย์ เป็นลูกจ้างประจำตำแหน่งผู้ประกาศ (2505) และเกษียณอายุราชการเมื่อ 30 กันยายน 2546 ในตำแหน่งผู้ประกาศ  ระหว่างปฏิบัติราชการจนกระทั่งเกษียณอายุราชการได้อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อสังคมด้านต่าง ๆ มากมาย จนได้รับรางวัลมากมายเช่นรางวัลเทพทองจากสมาคมนักวิทยุและโทรทัศน์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมป์ (นายวีระ ลิมปะพันธุ์ เป็นนายกสมาคม) รับมอบจาก ฯพณฯ พล.อ.ต.กำธน สินธวานนท์ องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ ในฐานะบุคคลดีเด่นด้านวิทยุกระจายเสียงประจำปี 2546 ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร ในวันอาทิตย์ที่ 15 สิงหาคม 2547 รางวัลเทพทองเป็นครั้งที่ 2 - เป็นสตรีคนแรกที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นนายกสมาคมสื่อมวลชนของจังหวัดขอนแก่น 2 สมัย ๆ ละ 2 ปี (พ.ศ. 2549 - 2553) และเป็นคนแรกผู้หญิงคนแรกที่ได้รับตำแหน่งนี้ - ในปี 2546 ได้รับเข็มเชิดชูเกียรติในฐานะที่ได้ช่วยประเทศชาติ เป็นผู้ประสานงานให้ข้อมูลกับกองทัพภาคที่ 2 เพื่อความมั่นคงของประเทศ จนได้รับโล่กำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติจาก พล.อ.อาทิตย์ กำลัง ผู้บัญชาการกองกำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติ แม่ทัพภาค 2 โดยได้ร่วมแก้ไขเหตุการณ์ไม่สงบของบ้านเมืองในวันที่ 1 - 3 เมษายน 2528 ให้กลับคืนสู่สภาพปกติ เพราะได้มีความสำนึกอันเดียวกันที่จะปกป้องเอกราชของบ้านเมืองไว้ จึงได้ร่วมกันปฏิบัติการด้วยจิตใจมั่นคงและแน่วแน่ ไม่หวั่นไหวต่ออันตรายใด ๆ อุทิศตนเพื่อหน้าที่ต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ สมกับที่เกิดมาในผืนแผ่นดินไทย ควรแก่การยกย่อง สรรเสริญเป็นอย่างยิ่ง และเคยเข้าร่วมปฏิวัติ 3 ครั้งในฐานะผู้ประสานงานในกองอำนวยการรักษาความมั่นคง โดยให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งกระจายเสียงของสถานีวิทยุแห่งประเทศไทยจังหวัดขอนแก่น  - ได้รับรางวัลสตรีดีเด่นในวันสตรีสากลของจังหวัดขอนแก่น ปี 2546 - ได้รับเชิญให้เข้าอบรมเพื่อเป็นอาสาสมัครของมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ รุ่นสุดท้าย ได้รับเลือกให้เป็นรองประธานมูลนิธิประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์จังหวัดขอนแก่น - เป็นกรรมการบริหารของสำนักเหล่ากาชาดจังหวัดขอนแก่นตั้งแต่ พ.ศ. 2510 ถึงปัจจุบัน และได้รับเหรียญสมานาคุณกาชาด จากสภากาชาดไทย ชั้น 3 ชั้น 2 ชั้น 1 โดยได้รับจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี   - ได้ร่วมฝึกลูกเสือชาวบ้านรุ่น 2 ของประเทศไทยต่อจาก กทม. ที่จังหวัดขอนแก่น ได้รับเลือกเป็นเลขานุการของรุ่น เรียกว่าลูกเสือชาวบ้านรุ่น 1 ของขอนแก่นและรุ่น 2 ของประเทศ นายบุญมา ทวิภักดิ์ อาจารย์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประธานรุ่นรับธงจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประสิทธิ์พร จารีย์รับพระราชทานพระบรมฉายาลักษณ์จากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
ประสิทธิ์พร จารีย์ 
 
 
ประสิทธิ์พร จารีย์ ผู้ประกาศรุ่นแรกของ สทท.5 ขาว-ดำ ขอนแก่น ซึ่งเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรกในภูมิภาค เกิดวันศุกร์ที่ 17 ตุลาคม 2485 เป็นชาวขอนแก่นโดยกำเนิด เติบโตและเรียนหนังสือที่กรุงเทพฯ สำเร็จ ปวส.จากโรงเรียนเอี่ยมละออ (วิทยาลัยเอี่ยมละออ กรุงเทพฯ) หลังจากนั้นกลับบ้านที่ขอนแก่น และขี่จักรยานไปเที่ยวที่บึงแก่นนคร เห็นกำลังก่อสร้างสร้างสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยภาคอิสาน ภายหลังเมื่อเปิดทดลองการออกอากาศแล้วจึงรับสมัครผู้ประกาศหญิง เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้ประกาศสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ขอนแก่น ในปี 2505 มีผู้มาสมัครสอบ 150 คน หลังจากสมัครมีการทดสอบอ่าน สำเนียง เสียง ภาษา โดยมีคณะกรรมการจากหัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ ในจังหวัดขอนแก่น โดยนายรักษ์ศักดิ์ วัฒนพานิชเป็นหัวหน้ากองขณะนั้น หลังจากนั้นให้แสดงความสามารถพิเศษ ประสิทธิ์พร จารีย์รำกฤษฎาอภินิหาร ขั้นตอนต่อไปต้องทดสอบประกาศจริงเป็นเวลา 3 เดือน หลังจากนั้นจึงจะประกาศผลการสอบ จาก 150 คนเหลือ 10 คน หลังจากนั้นรอบที่ 2 ต้องทดลองออกอากาศ ประสิทธิ์พร จารีย์ได้หมายเลข 8 และคัดเหลือ 5 คน ทั้ง 5 คนนี้มีการทดสอบความประพฤติ การปฏิบัติตน มารยาทระหว่างปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งประสิทธิ์พร จารีย์ได้เป็น 1ใน 5 ผู้ประกาศหญิงชุดแรกพร้อมกับศจี มกรสาร สุมน จันทศรีคำ อารีย์ ทวีศักดิ์ ลำดวน พึ่งเนียม หลังจากนั้นจึงจะประกาศผล  ประสิทธิ์พร จารีย์ เป็นลูกจ้างประจำตำแหน่งผู้ประกาศ (2505) และเกษียณอายุราชการเมื่อ 30 กันยายน 2546 ในตำแหน่งผู้ประกาศ  ระหว่างปฏิบัติราชการจนกระทั่งเกษียณอายุราชการได้อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อสังคมด้านต่าง ๆ มากมาย จนได้รับรางวัลมากมายเช่นรางวัลเทพทองจากสมาคมนักวิทยุและโทรทัศน์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมป์ (นายวีระ ลิมปะพันธุ์ เป็นนายกสมาคม) รับมอบจาก ฯพณฯ พล.อ.ต.กำธน สินธวานนท์ องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ ในฐานะบุคคลดีเด่นด้านวิทยุกระจายเสียงประจำปี 2546 ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร ในวันอาทิตย์ที่ 15 สิงหาคม 2547 รางวัลเทพทองเป็นครั้งที่ 2 - เป็นสตรีคนแรกที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นนายกสมาคมสื่อมวลชนของจังหวัดขอนแก่น 2 สมัย ๆ ละ 2 ปี (พ.ศ. 2549 - 2553) และเป็นคนแรกผู้หญิงคนแรกที่ได้รับตำแหน่งนี้ - ในปี 2546 ได้รับเข็มเชิดชูเกียรติในฐานะที่ได้ช่วยประเทศชาติ เป็นผู้ประสานงานให้ข้อมูลกับกองทัพภาคที่ 2 เพื่อความมั่นคงของประเทศ จนได้รับโล่กำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติจาก พล.อ.อาทิตย์ กำลัง ผู้บัญชาการกองกำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติ แม่ทัพภาค 2 โดยได้ร่วมแก้ไขเหตุการณ์ไม่สงบของบ้านเมืองในวันที่ 1 - 3 เมษายน 2528 ให้กลับคืนสู่สภาพปกติ เพราะได้มีความสำนึกอันเดียวกันที่จะปกป้องเอกราชของบ้านเมืองไว้ จึงได้ร่วมกันปฏิบัติการด้วยจิตใจมั่นคงและแน่วแน่ ไม่หวั่นไหวต่ออันตรายใด ๆ อุทิศตนเพื่อหน้าที่ต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ สมกับที่เกิดมาในผืนแผ่นดินไทย ควรแก่การยกย่อง สรรเสริญเป็นอย่างยิ่ง และเคยเข้าร่วมปฏิวัติ 3 ครั้งในฐานะผู้ประสานงานในกองอำนวยการรักษาความมั่นคง โดยให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งกระจายเสียงของสถานีวิทยุแห่งประเทศไทยจังหวัดขอนแก่น  - ได้รับรางวัลสตรีดีเด่นในวันสตรีสากลของจังหวัดขอนแก่น ปี 2546 - ได้รับเชิญให้เข้าอบรมเพื่อเป็นอาสาสมัครของมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ รุ่นสุดท้าย ได้รับเลือกให้เป็นรองประธานมูลนิธิประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์จังหวัดขอนแก่น - เป็นกรรมการบริหารของสำนักเหล่ากาชาดจังหวัดขอนแก่นตั้งแต่ พ.ศ. 2510 ถึงปัจจุบัน และได้รับเหรียญสมานาคุณกาชาด จากสภากาชาดไทย ชั้น 3 ชั้น 2 ชั้น 1 โดยได้รับจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี   - ได้ร่วมฝึกลูกเสือชาวบ้านรุ่น 2 ของประเทศไทยต่อจาก กทม. ที่จังหวัดขอนแก่น ได้รับเลือกเป็นเลขานุการของรุ่น เรียกว่าลูกเสือชาวบ้านรุ่น 1 ของขอนแก่นและรุ่น 2 ของประเทศ นายบุญมา ทวิภักดิ์ อาจารย์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประธานรุ่นรับธงจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประสิทธิ์พร จารีย์รับพระราชทานพระบรมฉายาลักษณ์จากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
ประสิทธิ์พร จารีย์ 
 
 
ประสิทธิ์พร จารีย์ ผู้ประกาศรุ่นแรกของ สทท.5 ขาว-ดำ ขอนแก่น ซึ่งเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรกในภูมิภาค เกิดวันศุกร์ที่ 17 ตุลาคม 2485 เป็นชาวขอนแก่นโดยกำเนิด เติบโตและเรียนหนังสือที่กรุงเทพฯ สำเร็จ ปวส.จากโรงเรียนเอี่ยมละออ (วิทยาลัยเอี่ยมละออ กรุงเทพฯ) หลังจากนั้นกลับบ้านที่ขอนแก่น และขี่จักรยานไปเที่ยวที่บึงแก่นนคร เห็นกำลังก่อสร้างสร้างสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยภาคอิสาน ภายหลังเมื่อเปิดทดลองการออกอากาศแล้วจึงรับสมัครผู้ประกาศหญิง เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้ประกาศสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ขอนแก่น ในปี 2505 มีผู้มาสมัครสอบ 150 คน หลังจากสมัครมีการทดสอบอ่าน สำเนียง เสียง ภาษา โดยมีคณะกรรมการจากหัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ ในจังหวัดขอนแก่น โดยนายรักษ์ศักดิ์ วัฒนพานิชเป็นหัวหน้ากองขณะนั้น หลังจากนั้นให้แสดงความสามารถพิเศษ ประสิทธิ์พร จารีย์รำกฤษฎาอภินิหาร ขั้นตอนต่อไปต้องทดสอบประกาศจริงเป็นเวลา 3 เดือน หลังจากนั้นจึงจะประกาศผลการสอบ จาก 150 คนเหลือ 10 คน หลังจากนั้นรอบที่ 2 ต้องทดลองออกอากาศ ประสิทธิ์พร จารีย์ได้หมายเลข 8 และคัดเหลือ 5 คน ทั้ง 5 คนนี้มีการทดสอบความประพฤติ การปฏิบัติตน มารยาทระหว่างปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งประสิทธิ์พร จารีย์ได้เป็น 1ใน 5 ผู้ประกาศหญิงชุดแรกพร้อมกับศจี มกรสาร สุมน จันทศรีคำ อารีย์ ทวีศักดิ์ ลำดวน พึ่งเนียม หลังจากนั้นจึงจะประกาศผล  ประสิทธิ์พร จารีย์ เป็นลูกจ้างประจำตำแหน่งผู้ประกาศ (2505) และเกษียณอายุราชการเมื่อ 30 กันยายน 2546 ในตำแหน่งผู้ประกาศ  ระหว่างปฏิบัติราชการจนกระทั่งเกษียณอายุราชการได้อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อสังคมด้านต่าง ๆ มากมาย จนได้รับรางวัลมากมายเช่นรางวัลเทพทองจากสมาคมนักวิทยุและโทรทัศน์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมป์ (นายวีระ ลิมปะพันธุ์ เป็นนายกสมาคม) รับมอบจาก ฯพณฯ พล.อ.ต.กำธน สินธวานนท์ องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ ในฐานะบุคคลดีเด่นด้านวิทยุกระจายเสียงประจำปี 2546 ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร ในวันอาทิตย์ที่ 15 สิงหาคม 2547 รางวัลเทพทองเป็นครั้งที่ 2 - เป็นสตรีคนแรกที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นนายกสมาคมสื่อมวลชนของจังหวัดขอนแก่น 2 สมัย ๆ ละ 2 ปี (พ.ศ. 2549 - 2553) และเป็นคนแรกผู้หญิงคนแรกที่ได้รับตำแหน่งนี้ - ในปี 2546 ได้รับเข็มเชิดชูเกียรติในฐานะที่ได้ช่วยประเทศชาติ เป็นผู้ประสานงานให้ข้อมูลกับกองทัพภาคที่ 2 เพื่อความมั่นคงของประเทศ จนได้รับโล่กำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติจาก พล.อ.อาทิตย์ กำลัง ผู้บัญชาการกองกำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติ แม่ทัพภาค 2 โดยได้ร่วมแก้ไขเหตุการณ์ไม่สงบของบ้านเมืองในวันที่ 1 - 3 เมษายน 2528 ให้กลับคืนสู่สภาพปกติ เพราะได้มีความสำนึกอันเดียวกันที่จะปกป้องเอกราชของบ้านเมืองไว้ จึงได้ร่วมกันปฏิบัติการด้วยจิตใจมั่นคงและแน่วแน่ ไม่หวั่นไหวต่ออันตรายใด ๆ อุทิศตนเพื่อหน้าที่ต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ สมกับที่เกิดมาในผืนแผ่นดินไทย ควรแก่การยกย่อง สรรเสริญเป็นอย่างยิ่ง และเคยเข้าร่วมปฏิวัติ 3 ครั้งในฐานะผู้ประสานงานในกองอำนวยการรักษาความมั่นคง โดยให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งกระจายเสียงของสถานีวิทยุแห่งประเทศไทยจังหวัดขอนแก่น  - ได้รับรางวัลสตรีดีเด่นในวันสตรีสากลของจังหวัดขอนแก่น ปี 2546 - ได้รับเชิญให้เข้าอบรมเพื่อเป็นอาสาสมัครของมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ รุ่นสุดท้าย ได้รับเลือกให้เป็นรองประธานมูลนิธิประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์จังหวัดขอนแก่น - เป็นกรรมการบริหารของสำนักเหล่ากาชาดจังหวัดขอนแก่นตั้งแต่ พ.ศ. 2510 ถึงปัจจุบัน และได้รับเหรียญสมานาคุณกาชาด จากสภากาชาดไทย ชั้น 3 ชั้น 2 ชั้น 1 โดยได้รับจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี   - ได้ร่วมฝึกลูกเสือชาวบ้านรุ่น 2 ของประเทศไทยต่อจาก กทม. ที่จังหวัดขอนแก่น ได้รับเลือกเป็นเลขานุการของรุ่น เรียกว่าลูกเสือชาวบ้านรุ่น 1 ของขอนแก่นและรุ่น 2 ของประเทศ นายบุญมา ทวิภักดิ์ อาจารย์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประธานรุ่นรับธงจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประสิทธิ์พร จารีย์รับพระราชทานพระบรมฉายาลักษณ์จากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
ประสิทธิ์พร จารีย์