กำลังดาวน์โหลด
  • Archives
เลย์เอาต์
แสดง:
บันทึก

แสดงผลการค้นหา: 74 ไฟล์ 

 
ประสิทธิ์พร จารีย์ ผู้ประกาศรุ่นแรกของ สทท.5 ขาว-ดำ ขอนแก่น ซึ่งเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรกในภูมิภาค เกิดวันศุกร์ที่ 17 ตุลาคม 2485 เป็นชาวขอนแก่นโดยกำเนิด เติบโตและเรียนหนังสือที่กรุงเทพฯ สำเร็จ ปวส.จากโรงเรียนเอี่ยมละออ (วิทยาลัยเอี่ยมละออ กรุงเทพฯ) หลังจากนั้นกลับบ้านที่ขอนแก่น และขี่จักรยานไปเที่ยวที่บึงแก่นนคร เห็นกำลังก่อสร้างสร้างสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยภาคอิสาน ภายหลังเมื่อเปิดทดลองการออกอากาศแล้วจึงรับสมัครผู้ประกาศหญิง เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้ประกาศสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ขอนแก่น ในปี 2505 มีผู้มาสมัครสอบ 150 คน หลังจากสมัครมีการทดสอบอ่าน สำเนียง เสียง ภาษา โดยมีคณะกรรมการจากหัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ ในจังหวัดขอนแก่น โดยนายรักษ์ศักดิ์ วัฒนพานิชเป็นหัวหน้ากองขณะนั้น หลังจากนั้นให้แสดงความสามารถพิเศษ ประสิทธิ์พร จารีย์รำกฤษฎาอภินิหาร ขั้นตอนต่อไปต้องทดสอบประกาศจริงเป็นเวลา 3 เดือน หลังจากนั้นจึงจะประกาศผลการสอบ จาก 150 คนเหลือ 10 คน หลังจากนั้นรอบที่ 2 ต้องทดลองออกอากาศ ประสิทธิ์พร จารีย์ได้หมายเลข 8 และคัดเหลือ 5 คน ทั้ง 5 คนนี้มีการทดสอบความประพฤติ การปฏิบัติตน มารยาทระหว่างปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งประสิทธิ์พร จารีย์ได้เป็น 1ใน 5 ผู้ประกาศหญิงชุดแรกพร้อมกับศจี มกรสาร สุมน จันทศรีคำ อารีย์ ทวีศักดิ์ ลำดวน พึ่งเนียม หลังจากนั้นจึงจะประกาศผล  ประสิทธิ์พร จารีย์ เป็นลูกจ้างประจำตำแหน่งผู้ประกาศ (2505) และเกษียณอายุราชการเมื่อ 30 กันยายน 2546 ในตำแหน่งผู้ประกาศ  ระหว่างปฏิบัติราชการจนกระทั่งเกษียณอายุราชการได้อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อสังคมด้านต่าง ๆ มากมาย จนได้รับรางวัลมากมายเช่นรางวัลเทพทองจากสมาคมนักวิทยุและโทรทัศน์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมป์ (นายวีระ ลิมปะพันธุ์ เป็นนายกสมาคม) รับมอบจาก ฯพณฯ พล.อ.ต.กำธน สินธวานนท์ องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ ในฐานะบุคคลดีเด่นด้านวิทยุกระจายเสียงประจำปี 2546 ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร ในวันอาทิตย์ที่ 15 สิงหาคม 2547 รางวัลเทพทองเป็นครั้งที่ 2 - เป็นสตรีคนแรกที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นนายกสมาคมสื่อมวลชนของจังหวัดขอนแก่น 2 สมัย ๆ ละ 2 ปี (พ.ศ. 2549 - 2553) และเป็นคนแรกผู้หญิงคนแรกที่ได้รับตำแหน่งนี้ - ในปี 2546 ได้รับเข็มเชิดชูเกียรติในฐานะที่ได้ช่วยประเทศชาติ เป็นผู้ประสานงานให้ข้อมูลกับกองทัพภาคที่ 2 เพื่อความมั่นคงของประเทศ จนได้รับโล่กำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติจาก พล.อ.อาทิตย์ กำลัง ผู้บัญชาการกองกำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติ แม่ทัพภาค 2 โดยได้ร่วมแก้ไขเหตุการณ์ไม่สงบของบ้านเมืองในวันที่ 1 - 3 เมษายน 2528 ให้กลับคืนสู่สภาพปกติ เพราะได้มีความสำนึกอันเดียวกันที่จะปกป้องเอกราชของบ้านเมืองไว้ จึงได้ร่วมกันปฏิบัติการด้วยจิตใจมั่นคงและแน่วแน่ ไม่หวั่นไหวต่ออันตรายใด ๆ อุทิศตนเพื่อหน้าที่ต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ สมกับที่เกิดมาในผืนแผ่นดินไทย ควรแก่การยกย่อง สรรเสริญเป็นอย่างยิ่ง และเคยเข้าร่วมปฏิวัติ 3 ครั้งในฐานะผู้ประสานงานในกองอำนวยการรักษาความมั่นคง โดยให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งกระจายเสียงของสถานีวิทยุแห่งประเทศไทยจังหวัดขอนแก่น  - ได้รับรางวัลสตรีดีเด่นในวันสตรีสากลของจังหวัดขอนแก่น ปี 2546 - ได้รับเชิญให้เข้าอบรมเพื่อเป็นอาสาสมัครของมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ รุ่นสุดท้าย ได้รับเลือกให้เป็นรองประธานมูลนิธิประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์จังหวัดขอนแก่น - เป็นกรรมการบริหารของสำนักเหล่ากาชาดจังหวัดขอนแก่นตั้งแต่ พ.ศ. 2510 ถึงปัจจุบัน และได้รับเหรียญสมานาคุณกาชาด จากสภากาชาดไทย ชั้น 3 ชั้น 2 ชั้น 1 โดยได้รับจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี   - ได้ร่วมฝึกลูกเสือชาวบ้านรุ่น 2 ของประเทศไทยต่อจาก กทม. ที่จังหวัดขอนแก่น ได้รับเลือกเป็นเลขานุการของรุ่น เรียกว่าลูกเสือชาวบ้านรุ่น 1 ของขอนแก่นและรุ่น 2 ของประเทศ นายบุญมา ทวิภักดิ์ อาจารย์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประธานรุ่นรับธงจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประสิทธิ์พร จารีย์รับพระราชทานพระบรมฉายาลักษณ์จากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
ประสิทธิ์พร จารีย์ 
 
 
ประสิทธิ์พร จารีย์ ผู้ประกาศรุ่นแรกของ สทท.5 ขาว-ดำ ขอนแก่น ซึ่งเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรกในภูมิภาค เกิดวันศุกร์ที่ 17 ตุลาคม 2485 เป็นชาวขอนแก่นโดยกำเนิด เติบโตและเรียนหนังสือที่กรุงเทพฯ สำเร็จ ปวส.จากโรงเรียนเอี่ยมละออ (วิทยาลัยเอี่ยมละออ กรุงเทพฯ) หลังจากนั้นกลับบ้านที่ขอนแก่น และขี่จักรยานไปเที่ยวที่บึงแก่นนคร เห็นกำลังก่อสร้างสร้างสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยภาคอิสาน ภายหลังเมื่อเปิดทดลองการออกอากาศแล้วจึงรับสมัครผู้ประกาศหญิง เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้ประกาศสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ขอนแก่น ในปี 2505 มีผู้มาสมัครสอบ 150 คน หลังจากสมัครมีการทดสอบอ่าน สำเนียง เสียง ภาษา โดยมีคณะกรรมการจากหัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ ในจังหวัดขอนแก่น โดยนายรักษ์ศักดิ์ วัฒนพานิชเป็นหัวหน้ากองขณะนั้น หลังจากนั้นให้แสดงความสามารถพิเศษ ประสิทธิ์พร จารีย์รำกฤษฎาอภินิหาร ขั้นตอนต่อไปต้องทดสอบประกาศจริงเป็นเวลา 3 เดือน หลังจากนั้นจึงจะประกาศผลการสอบ จาก 150 คนเหลือ 10 คน หลังจากนั้นรอบที่ 2 ต้องทดลองออกอากาศ ประสิทธิ์พร จารีย์ได้หมายเลข 8 และคัดเหลือ 5 คน ทั้ง 5 คนนี้มีการทดสอบความประพฤติ การปฏิบัติตน มารยาทระหว่างปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งประสิทธิ์พร จารีย์ได้เป็น 1ใน 5 ผู้ประกาศหญิงชุดแรกพร้อมกับศจี มกรสาร สุมน จันทศรีคำ อารีย์ ทวีศักดิ์ ลำดวน พึ่งเนียม หลังจากนั้นจึงจะประกาศผล  ประสิทธิ์พร จารีย์ เป็นลูกจ้างประจำตำแหน่งผู้ประกาศ (2505) และเกษียณอายุราชการเมื่อ 30 กันยายน 2546 ในตำแหน่งผู้ประกาศ  ระหว่างปฏิบัติราชการจนกระทั่งเกษียณอายุราชการได้อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อสังคมด้านต่าง ๆ มากมาย จนได้รับรางวัลมากมายเช่นรางวัลเทพทองจากสมาคมนักวิทยุและโทรทัศน์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมป์ (นายวีระ ลิมปะพันธุ์ เป็นนายกสมาคม) รับมอบจาก ฯพณฯ พล.อ.ต.กำธน สินธวานนท์ องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ ในฐานะบุคคลดีเด่นด้านวิทยุกระจายเสียงประจำปี 2546 ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร ในวันอาทิตย์ที่ 15 สิงหาคม 2547 รางวัลเทพทองเป็นครั้งที่ 2 - เป็นสตรีคนแรกที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นนายกสมาคมสื่อมวลชนของจังหวัดขอนแก่น 2 สมัย ๆ ละ 2 ปี (พ.ศ. 2549 - 2553) และเป็นคนแรกผู้หญิงคนแรกที่ได้รับตำแหน่งนี้ - ในปี 2546 ได้รับเข็มเชิดชูเกียรติในฐานะที่ได้ช่วยประเทศชาติ เป็นผู้ประสานงานให้ข้อมูลกับกองทัพภาคที่ 2 เพื่อความมั่นคงของประเทศ จนได้รับโล่กำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติจาก พล.อ.อาทิตย์ กำลัง ผู้บัญชาการกองกำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติ แม่ทัพภาค 2 โดยได้ร่วมแก้ไขเหตุการณ์ไม่สงบของบ้านเมืองในวันที่ 1 - 3 เมษายน 2528 ให้กลับคืนสู่สภาพปกติ เพราะได้มีความสำนึกอันเดียวกันที่จะปกป้องเอกราชของบ้านเมืองไว้ จึงได้ร่วมกันปฏิบัติการด้วยจิตใจมั่นคงและแน่วแน่ ไม่หวั่นไหวต่ออันตรายใด ๆ อุทิศตนเพื่อหน้าที่ต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ สมกับที่เกิดมาในผืนแผ่นดินไทย ควรแก่การยกย่อง สรรเสริญเป็นอย่างยิ่ง และเคยเข้าร่วมปฏิวัติ 3 ครั้งในฐานะผู้ประสานงานในกองอำนวยการรักษาความมั่นคง โดยให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งกระจายเสียงของสถานีวิทยุแห่งประเทศไทยจังหวัดขอนแก่น  - ได้รับรางวัลสตรีดีเด่นในวันสตรีสากลของจังหวัดขอนแก่น ปี 2546 - ได้รับเชิญให้เข้าอบรมเพื่อเป็นอาสาสมัครของมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ รุ่นสุดท้าย ได้รับเลือกให้เป็นรองประธานมูลนิธิประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์จังหวัดขอนแก่น - เป็นกรรมการบริหารของสำนักเหล่ากาชาดจังหวัดขอนแก่นตั้งแต่ พ.ศ. 2510 ถึงปัจจุบัน และได้รับเหรียญสมานาคุณกาชาด จากสภากาชาดไทย ชั้น 3 ชั้น 2 ชั้น 1 โดยได้รับจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี   - ได้ร่วมฝึกลูกเสือชาวบ้านรุ่น 2 ของประเทศไทยต่อจาก กทม. ที่จังหวัดขอนแก่น ได้รับเลือกเป็นเลขานุการของรุ่น เรียกว่าลูกเสือชาวบ้านรุ่น 1 ของขอนแก่นและรุ่น 2 ของประเทศ นายบุญมา ทวิภักดิ์ อาจารย์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประธานรุ่นรับธงจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประสิทธิ์พร จารีย์รับพระราชทานพระบรมฉายาลักษณ์จากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
ประสิทธิ์พร จารีย์ 
 
 
ประสิทธิ์พร จารีย์ ผู้ประกาศรุ่นแรกของ สทท.5 ขาว-ดำ ขอนแก่น ซึ่งเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรกในภูมิภาค เกิดวันศุกร์ที่ 17 ตุลาคม 2485 เป็นชาวขอนแก่นโดยกำเนิด เติบโตและเรียนหนังสือที่กรุงเทพฯ สำเร็จ ปวส.จากโรงเรียนเอี่ยมละออ (วิทยาลัยเอี่ยมละออ กรุงเทพฯ) หลังจากนั้นกลับบ้านที่ขอนแก่น และขี่จักรยานไปเที่ยวที่บึงแก่นนคร เห็นกำลังก่อสร้างสร้างสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยภาคอิสาน ภายหลังเมื่อเปิดทดลองการออกอากาศแล้วจึงรับสมัครผู้ประกาศหญิง เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้ประกาศสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ขอนแก่น ในปี 2505 มีผู้มาสมัครสอบ 150 คน หลังจากสมัครมีการทดสอบอ่าน สำเนียง เสียง ภาษา โดยมีคณะกรรมการจากหัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ ในจังหวัดขอนแก่น โดยนายรักษ์ศักดิ์ วัฒนพานิชเป็นหัวหน้ากองขณะนั้น หลังจากนั้นให้แสดงความสามารถพิเศษ ประสิทธิ์พร จารีย์รำกฤษฎาอภินิหาร ขั้นตอนต่อไปต้องทดสอบประกาศจริงเป็นเวลา 3 เดือน หลังจากนั้นจึงจะประกาศผลการสอบ จาก 150 คนเหลือ 10 คน หลังจากนั้นรอบที่ 2 ต้องทดลองออกอากาศ ประสิทธิ์พร จารีย์ได้หมายเลข 8 และคัดเหลือ 5 คน ทั้ง 5 คนนี้มีการทดสอบความประพฤติ การปฏิบัติตน มารยาทระหว่างปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งประสิทธิ์พร จารีย์ได้เป็น 1ใน 5 ผู้ประกาศหญิงชุดแรกพร้อมกับศจี มกรสาร สุมน จันทศรีคำ อารีย์ ทวีศักดิ์ ลำดวน พึ่งเนียม หลังจากนั้นจึงจะประกาศผล  ประสิทธิ์พร จารีย์ เป็นลูกจ้างประจำตำแหน่งผู้ประกาศ (2505) และเกษียณอายุราชการเมื่อ 30 กันยายน 2546 ในตำแหน่งผู้ประกาศ  ระหว่างปฏิบัติราชการจนกระทั่งเกษียณอายุราชการได้อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อสังคมด้านต่าง ๆ มากมาย จนได้รับรางวัลมากมายเช่นรางวัลเทพทองจากสมาคมนักวิทยุและโทรทัศน์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมป์ (นายวีระ ลิมปะพันธุ์ เป็นนายกสมาคม) รับมอบจาก ฯพณฯ พล.อ.ต.กำธน สินธวานนท์ องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ ในฐานะบุคคลดีเด่นด้านวิทยุกระจายเสียงประจำปี 2546 ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร ในวันอาทิตย์ที่ 15 สิงหาคม 2547 รางวัลเทพทองเป็นครั้งที่ 2 - เป็นสตรีคนแรกที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นนายกสมาคมสื่อมวลชนของจังหวัดขอนแก่น 2 สมัย ๆ ละ 2 ปี (พ.ศ. 2549 - 2553) และเป็นคนแรกผู้หญิงคนแรกที่ได้รับตำแหน่งนี้ - ในปี 2546 ได้รับเข็มเชิดชูเกียรติในฐานะที่ได้ช่วยประเทศชาติ เป็นผู้ประสานงานให้ข้อมูลกับกองทัพภาคที่ 2 เพื่อความมั่นคงของประเทศ จนได้รับโล่กำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติจาก พล.อ.อาทิตย์ กำลัง ผู้บัญชาการกองกำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติ แม่ทัพภาค 2 โดยได้ร่วมแก้ไขเหตุการณ์ไม่สงบของบ้านเมืองในวันที่ 1 - 3 เมษายน 2528 ให้กลับคืนสู่สภาพปกติ เพราะได้มีความสำนึกอันเดียวกันที่จะปกป้องเอกราชของบ้านเมืองไว้ จึงได้ร่วมกันปฏิบัติการด้วยจิตใจมั่นคงและแน่วแน่ ไม่หวั่นไหวต่ออันตรายใด ๆ อุทิศตนเพื่อหน้าที่ต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ สมกับที่เกิดมาในผืนแผ่นดินไทย ควรแก่การยกย่อง สรรเสริญเป็นอย่างยิ่ง และเคยเข้าร่วมปฏิวัติ 3 ครั้งในฐานะผู้ประสานงานในกองอำนวยการรักษาความมั่นคง โดยให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งกระจายเสียงของสถานีวิทยุแห่งประเทศไทยจังหวัดขอนแก่น  - ได้รับรางวัลสตรีดีเด่นในวันสตรีสากลของจังหวัดขอนแก่น ปี 2546 - ได้รับเชิญให้เข้าอบรมเพื่อเป็นอาสาสมัครของมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ รุ่นสุดท้าย ได้รับเลือกให้เป็นรองประธานมูลนิธิประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์จังหวัดขอนแก่น - เป็นกรรมการบริหารของสำนักเหล่ากาชาดจังหวัดขอนแก่นตั้งแต่ พ.ศ. 2510 ถึงปัจจุบัน และได้รับเหรียญสมานาคุณกาชาด จากสภากาชาดไทย ชั้น 3 ชั้น 2 ชั้น 1 โดยได้รับจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี   - ได้ร่วมฝึกลูกเสือชาวบ้านรุ่น 2 ของประเทศไทยต่อจาก กทม. ที่จังหวัดขอนแก่น ได้รับเลือกเป็นเลขานุการของรุ่น เรียกว่าลูกเสือชาวบ้านรุ่น 1 ของขอนแก่นและรุ่น 2 ของประเทศ นายบุญมา ทวิภักดิ์ อาจารย์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประธานรุ่นรับธงจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประสิทธิ์พร จารีย์รับพระราชทานพระบรมฉายาลักษณ์จากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
ประสิทธิ์พร จารีย์ 
 
 
ประสิทธิ์พร จารีย์ ผู้ประกาศรุ่นแรกของ สทท.5 ขาว-ดำ ขอนแก่น ซึ่งเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรกในภูมิภาค เกิดวันศุกร์ที่ 17 ตุลาคม 2485 เป็นชาวขอนแก่นโดยกำเนิด เติบโตและเรียนหนังสือที่กรุงเทพฯ สำเร็จ ปวส.จากโรงเรียนเอี่ยมละออ (วิทยาลัยเอี่ยมละออ กรุงเทพฯ) หลังจากนั้นกลับบ้านที่ขอนแก่น และขี่จักรยานไปเที่ยวที่บึงแก่นนคร เห็นกำลังก่อสร้างสร้างสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยภาคอิสาน ภายหลังเมื่อเปิดทดลองการออกอากาศแล้วจึงรับสมัครผู้ประกาศหญิง เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้ประกาศสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ขอนแก่น ในปี 2505 มีผู้มาสมัครสอบ 150 คน หลังจากสมัครมีการทดสอบอ่าน สำเนียง เสียง ภาษา โดยมีคณะกรรมการจากหัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ ในจังหวัดขอนแก่น โดยนายรักษ์ศักดิ์ วัฒนพานิชเป็นหัวหน้ากองขณะนั้น หลังจากนั้นให้แสดงความสามารถพิเศษ ประสิทธิ์พร จารีย์รำกฤษฎาอภินิหาร ขั้นตอนต่อไปต้องทดสอบประกาศจริงเป็นเวลา 3 เดือน หลังจากนั้นจึงจะประกาศผลการสอบ จาก 150 คนเหลือ 10 คน หลังจากนั้นรอบที่ 2 ต้องทดลองออกอากาศ ประสิทธิ์พร จารีย์ได้หมายเลข 8 และคัดเหลือ 5 คน ทั้ง 5 คนนี้มีการทดสอบความประพฤติ การปฏิบัติตน มารยาทระหว่างปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งประสิทธิ์พร จารีย์ได้เป็น 1ใน 5 ผู้ประกาศหญิงชุดแรกพร้อมกับศจี มกรสาร สุมน จันทศรีคำ อารีย์ ทวีศักดิ์ ลำดวน พึ่งเนียม หลังจากนั้นจึงจะประกาศผล  ประสิทธิ์พร จารีย์ เป็นลูกจ้างประจำตำแหน่งผู้ประกาศ (2505) และเกษียณอายุราชการเมื่อ 30 กันยายน 2546 ในตำแหน่งผู้ประกาศ  ระหว่างปฏิบัติราชการจนกระทั่งเกษียณอายุราชการได้อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อสังคมด้านต่าง ๆ มากมาย จนได้รับรางวัลมากมายเช่นรางวัลเทพทองจากสมาคมนักวิทยุและโทรทัศน์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมป์ (นายวีระ ลิมปะพันธุ์ เป็นนายกสมาคม) รับมอบจาก ฯพณฯ พล.อ.ต.กำธน สินธวานนท์ องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ ในฐานะบุคคลดีเด่นด้านวิทยุกระจายเสียงประจำปี 2546 ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร ในวันอาทิตย์ที่ 15 สิงหาคม 2547 รางวัลเทพทองเป็นครั้งที่ 2 - เป็นสตรีคนแรกที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นนายกสมาคมสื่อมวลชนของจังหวัดขอนแก่น 2 สมัย ๆ ละ 2 ปี (พ.ศ. 2549 - 2553) และเป็นคนแรกผู้หญิงคนแรกที่ได้รับตำแหน่งนี้ - ในปี 2546 ได้รับเข็มเชิดชูเกียรติในฐานะที่ได้ช่วยประเทศชาติ เป็นผู้ประสานงานให้ข้อมูลกับกองทัพภาคที่ 2 เพื่อความมั่นคงของประเทศ จนได้รับโล่กำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติจาก พล.อ.อาทิตย์ กำลัง ผู้บัญชาการกองกำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติ แม่ทัพภาค 2 โดยได้ร่วมแก้ไขเหตุการณ์ไม่สงบของบ้านเมืองในวันที่ 1 - 3 เมษายน 2528 ให้กลับคืนสู่สภาพปกติ เพราะได้มีความสำนึกอันเดียวกันที่จะปกป้องเอกราชของบ้านเมืองไว้ จึงได้ร่วมกันปฏิบัติการด้วยจิตใจมั่นคงและแน่วแน่ ไม่หวั่นไหวต่ออันตรายใด ๆ อุทิศตนเพื่อหน้าที่ต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ สมกับที่เกิดมาในผืนแผ่นดินไทย ควรแก่การยกย่อง สรรเสริญเป็นอย่างยิ่ง และเคยเข้าร่วมปฏิวัติ 3 ครั้งในฐานะผู้ประสานงานในกองอำนวยการรักษาความมั่นคง โดยให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งกระจายเสียงของสถานีวิทยุแห่งประเทศไทยจังหวัดขอนแก่น  - ได้รับรางวัลสตรีดีเด่นในวันสตรีสากลของจังหวัดขอนแก่น ปี 2546 - ได้รับเชิญให้เข้าอบรมเพื่อเป็นอาสาสมัครของมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ รุ่นสุดท้าย ได้รับเลือกให้เป็นรองประธานมูลนิธิประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์จังหวัดขอนแก่น - เป็นกรรมการบริหารของสำนักเหล่ากาชาดจังหวัดขอนแก่นตั้งแต่ พ.ศ. 2510 ถึงปัจจุบัน และได้รับเหรียญสมานาคุณกาชาด จากสภากาชาดไทย ชั้น 3 ชั้น 2 ชั้น 1 โดยได้รับจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี   - ได้ร่วมฝึกลูกเสือชาวบ้านรุ่น 2 ของประเทศไทยต่อจาก กทม. ที่จังหวัดขอนแก่น ได้รับเลือกเป็นเลขานุการของรุ่น เรียกว่าลูกเสือชาวบ้านรุ่น 1 ของขอนแก่นและรุ่น 2 ของประเทศ นายบุญมา ทวิภักดิ์ อาจารย์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประธานรุ่นรับธงจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประสิทธิ์พร จารีย์รับพระราชทานพระบรมฉายาลักษณ์จากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
ประสิทธิ์พร จารีย์ 
 
 
ประสิทธิ์พร จารีย์ ผู้ประกาศรุ่นแรกของ สทท.5 ขาว-ดำ ขอนแก่น ซึ่งเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรกในภูมิภาค เกิดวันศุกร์ที่ 17 ตุลาคม 2485 เป็นชาวขอนแก่นโดยกำเนิด เติบโตและเรียนหนังสือที่กรุงเทพฯ สำเร็จ ปวส.จากโรงเรียนเอี่ยมละออ (วิทยาลัยเอี่ยมละออ กรุงเทพฯ) หลังจากนั้นกลับบ้านที่ขอนแก่น และขี่จักรยานไปเที่ยวที่บึงแก่นนคร เห็นกำลังก่อสร้างสร้างสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยภาคอิสาน ภายหลังเมื่อเปิดทดลองการออกอากาศแล้วจึงรับสมัครผู้ประกาศหญิง เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้ประกาศสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ขอนแก่น ในปี 2505 มีผู้มาสมัครสอบ 150 คน หลังจากสมัครมีการทดสอบอ่าน สำเนียง เสียง ภาษา โดยมีคณะกรรมการจากหัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ ในจังหวัดขอนแก่น โดยนายรักษ์ศักดิ์ วัฒนพานิชเป็นหัวหน้ากองขณะนั้น หลังจากนั้นให้แสดงความสามารถพิเศษ ประสิทธิ์พร จารีย์รำกฤษฎาอภินิหาร ขั้นตอนต่อไปต้องทดสอบประกาศจริงเป็นเวลา 3 เดือน หลังจากนั้นจึงจะประกาศผลการสอบ จาก 150 คนเหลือ 10 คน หลังจากนั้นรอบที่ 2 ต้องทดลองออกอากาศ ประสิทธิ์พร จารีย์ได้หมายเลข 8 และคัดเหลือ 5 คน ทั้ง 5 คนนี้มีการทดสอบความประพฤติ การปฏิบัติตน มารยาทระหว่างปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งประสิทธิ์พร จารีย์ได้เป็น 1ใน 5 ผู้ประกาศหญิงชุดแรกพร้อมกับศจี มกรสาร สุมน จันทศรีคำ อารีย์ ทวีศักดิ์ ลำดวน พึ่งเนียม หลังจากนั้นจึงจะประกาศผล  ประสิทธิ์พร จารีย์ เป็นลูกจ้างประจำตำแหน่งผู้ประกาศ (2505) และเกษียณอายุราชการเมื่อ 30 กันยายน 2546 ในตำแหน่งผู้ประกาศ  ระหว่างปฏิบัติราชการจนกระทั่งเกษียณอายุราชการได้อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อสังคมด้านต่าง ๆ มากมาย จนได้รับรางวัลมากมายเช่นรางวัลเทพทองจากสมาคมนักวิทยุและโทรทัศน์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมป์ (นายวีระ ลิมปะพันธุ์ เป็นนายกสมาคม) รับมอบจาก ฯพณฯ พล.อ.ต.กำธน สินธวานนท์ องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ ในฐานะบุคคลดีเด่นด้านวิทยุกระจายเสียงประจำปี 2546 ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร ในวันอาทิตย์ที่ 15 สิงหาคม 2547 รางวัลเทพทองเป็นครั้งที่ 2 - เป็นสตรีคนแรกที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นนายกสมาคมสื่อมวลชนของจังหวัดขอนแก่น 2 สมัย ๆ ละ 2 ปี (พ.ศ. 2549 - 2553) และเป็นคนแรกผู้หญิงคนแรกที่ได้รับตำแหน่งนี้ - ในปี 2546 ได้รับเข็มเชิดชูเกียรติในฐานะที่ได้ช่วยประเทศชาติ เป็นผู้ประสานงานให้ข้อมูลกับกองทัพภาคที่ 2 เพื่อความมั่นคงของประเทศ จนได้รับโล่กำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติจาก พล.อ.อาทิตย์ กำลัง ผู้บัญชาการกองกำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติ แม่ทัพภาค 2 โดยได้ร่วมแก้ไขเหตุการณ์ไม่สงบของบ้านเมืองในวันที่ 1 - 3 เมษายน 2528 ให้กลับคืนสู่สภาพปกติ เพราะได้มีความสำนึกอันเดียวกันที่จะปกป้องเอกราชของบ้านเมืองไว้ จึงได้ร่วมกันปฏิบัติการด้วยจิตใจมั่นคงและแน่วแน่ ไม่หวั่นไหวต่ออันตรายใด ๆ อุทิศตนเพื่อหน้าที่ต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ สมกับที่เกิดมาในผืนแผ่นดินไทย ควรแก่การยกย่อง สรรเสริญเป็นอย่างยิ่ง และเคยเข้าร่วมปฏิวัติ 3 ครั้งในฐานะผู้ประสานงานในกองอำนวยการรักษาความมั่นคง โดยให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งกระจายเสียงของสถานีวิทยุแห่งประเทศไทยจังหวัดขอนแก่น  - ได้รับรางวัลสตรีดีเด่นในวันสตรีสากลของจังหวัดขอนแก่น ปี 2546 - ได้รับเชิญให้เข้าอบรมเพื่อเป็นอาสาสมัครของมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ รุ่นสุดท้าย ได้รับเลือกให้เป็นรองประธานมูลนิธิประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์จังหวัดขอนแก่น - เป็นกรรมการบริหารของสำนักเหล่ากาชาดจังหวัดขอนแก่นตั้งแต่ พ.ศ. 2510 ถึงปัจจุบัน และได้รับเหรียญสมานาคุณกาชาด จากสภากาชาดไทย ชั้น 3 ชั้น 2 ชั้น 1 โดยได้รับจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี   - ได้ร่วมฝึกลูกเสือชาวบ้านรุ่น 2 ของประเทศไทยต่อจาก กทม. ที่จังหวัดขอนแก่น ได้รับเลือกเป็นเลขานุการของรุ่น เรียกว่าลูกเสือชาวบ้านรุ่น 1 ของขอนแก่นและรุ่น 2 ของประเทศ นายบุญมา ทวิภักดิ์ อาจารย์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประธานรุ่นรับธงจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประสิทธิ์พร จารีย์รับพระราชทานพระบรมฉายาลักษณ์จากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
ประสิทธิ์พร จารีย์ 
 
 
ประสิทธิ์พร จารีย์ ผู้ประกาศรุ่นแรกของ สทท.5 ขาว-ดำ ขอนแก่น ซึ่งเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรกในภูมิภาค เกิดวันศุกร์ที่ 17 ตุลาคม 2485 เป็นชาวขอนแก่นโดยกำเนิด เติบโตและเรียนหนังสือที่กรุงเทพฯ สำเร็จ ปวส.จากโรงเรียนเอี่ยมละออ (วิทยาลัยเอี่ยมละออ กรุงเทพฯ) หลังจากนั้นกลับบ้านที่ขอนแก่น และขี่จักรยานไปเที่ยวที่บึงแก่นนคร เห็นกำลังก่อสร้างสร้างสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยภาคอิสาน ภายหลังเมื่อเปิดทดลองการออกอากาศแล้วจึงรับสมัครผู้ประกาศหญิง เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้ประกาศสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ขอนแก่น ในปี 2505 มีผู้มาสมัครสอบ 150 คน หลังจากสมัครมีการทดสอบอ่าน สำเนียง เสียง ภาษา โดยมีคณะกรรมการจากหัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ ในจังหวัดขอนแก่น โดยนายรักษ์ศักดิ์ วัฒนพานิชเป็นหัวหน้ากองขณะนั้น หลังจากนั้นให้แสดงความสามารถพิเศษ ประสิทธิ์พร จารีย์รำกฤษฎาอภินิหาร ขั้นตอนต่อไปต้องทดสอบประกาศจริงเป็นเวลา 3 เดือน หลังจากนั้นจึงจะประกาศผลการสอบ จาก 150 คนเหลือ 10 คน หลังจากนั้นรอบที่ 2 ต้องทดลองออกอากาศ ประสิทธิ์พร จารีย์ได้หมายเลข 8 และคัดเหลือ 5 คน ทั้ง 5 คนนี้มีการทดสอบความประพฤติ การปฏิบัติตน มารยาทระหว่างปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งประสิทธิ์พร จารีย์ได้เป็น 1ใน 5 ผู้ประกาศหญิงชุดแรกพร้อมกับศจี มกรสาร สุมน จันทศรีคำ อารีย์ ทวีศักดิ์ ลำดวน พึ่งเนียม หลังจากนั้นจึงจะประกาศผล  ประสิทธิ์พร จารีย์ เป็นลูกจ้างประจำตำแหน่งผู้ประกาศ (2505) และเกษียณอายุราชการเมื่อ 30 กันยายน 2546 ในตำแหน่งผู้ประกาศ  ระหว่างปฏิบัติราชการจนกระทั่งเกษียณอายุราชการได้อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อสังคมด้านต่าง ๆ มากมาย จนได้รับรางวัลมากมายเช่นรางวัลเทพทองจากสมาคมนักวิทยุและโทรทัศน์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมป์ (นายวีระ ลิมปะพันธุ์ เป็นนายกสมาคม) รับมอบจาก ฯพณฯ พล.อ.ต.กำธน สินธวานนท์ องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ ในฐานะบุคคลดีเด่นด้านวิทยุกระจายเสียงประจำปี 2546 ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร ในวันอาทิตย์ที่ 15 สิงหาคม 2547 รางวัลเทพทองเป็นครั้งที่ 2 - เป็นสตรีคนแรกที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นนายกสมาคมสื่อมวลชนของจังหวัดขอนแก่น 2 สมัย ๆ ละ 2 ปี (พ.ศ. 2549 - 2553) และเป็นคนแรกผู้หญิงคนแรกที่ได้รับตำแหน่งนี้ - ในปี 2546 ได้รับเข็มเชิดชูเกียรติในฐานะที่ได้ช่วยประเทศชาติ เป็นผู้ประสานงานให้ข้อมูลกับกองทัพภาคที่ 2 เพื่อความมั่นคงของประเทศ จนได้รับโล่กำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติจาก พล.อ.อาทิตย์ กำลัง ผู้บัญชาการกองกำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติ แม่ทัพภาค 2 โดยได้ร่วมแก้ไขเหตุการณ์ไม่สงบของบ้านเมืองในวันที่ 1 - 3 เมษายน 2528 ให้กลับคืนสู่สภาพปกติ เพราะได้มีความสำนึกอันเดียวกันที่จะปกป้องเอกราชของบ้านเมืองไว้ จึงได้ร่วมกันปฏิบัติการด้วยจิตใจมั่นคงและแน่วแน่ ไม่หวั่นไหวต่ออันตรายใด ๆ อุทิศตนเพื่อหน้าที่ต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ สมกับที่เกิดมาในผืนแผ่นดินไทย ควรแก่การยกย่อง สรรเสริญเป็นอย่างยิ่ง และเคยเข้าร่วมปฏิวัติ 3 ครั้งในฐานะผู้ประสานงานในกองอำนวยการรักษาความมั่นคง โดยให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งกระจายเสียงของสถานีวิทยุแห่งประเทศไทยจังหวัดขอนแก่น  - ได้รับรางวัลสตรีดีเด่นในวันสตรีสากลของจังหวัดขอนแก่น ปี 2546 - ได้รับเชิญให้เข้าอบรมเพื่อเป็นอาสาสมัครของมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ รุ่นสุดท้าย ได้รับเลือกให้เป็นรองประธานมูลนิธิประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์จังหวัดขอนแก่น - เป็นกรรมการบริหารของสำนักเหล่ากาชาดจังหวัดขอนแก่นตั้งแต่ พ.ศ. 2510 ถึงปัจจุบัน และได้รับเหรียญสมานาคุณกาชาด จากสภากาชาดไทย ชั้น 3 ชั้น 2 ชั้น 1 โดยได้รับจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี   - ได้ร่วมฝึกลูกเสือชาวบ้านรุ่น 2 ของประเทศไทยต่อจาก กทม. ที่จังหวัดขอนแก่น ได้รับเลือกเป็นเลขานุการของรุ่น เรียกว่าลูกเสือชาวบ้านรุ่น 1 ของขอนแก่นและรุ่น 2 ของประเทศ นายบุญมา ทวิภักดิ์ อาจารย์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประธานรุ่นรับธงจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประสิทธิ์พร จารีย์รับพระราชทานพระบรมฉายาลักษณ์จากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
ประสิทธิ์พร จารีย์ 
 
 
ไปงานศิลปวัฒนธรรมอีสานที่ขอนแก่น และได้รับรางวัลที่ 2 ในฐานะผู้แต่งกายสวยงามในชุดผ้าไหม ส่วนผู้ชายได้รับรางวัลที่ 1
ประสิทธิ์พร จารีย์ 
 
 
ประสิทธิ์พร จารีย์ ผู้ประกาศรุ่นแรกของ สทท.5 ขาว-ดำ ขอนแก่น ซึ่งเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรกในภูมิภาค เกิดวันศุกร์ที่ 17 ตุลาคม 2485 เป็นชาวขอนแก่นโดยกำเนิด เติบโตและเรียนหนังสือที่กรุงเทพฯ สำเร็จ ปวส.จากโรงเรียนเอี่ยมละออ (วิทยาลัยเอี่ยมละออ กรุงเทพฯ) หลังจากนั้นกลับบ้านที่ขอนแก่น และขี่จักรยานไปเที่ยวที่บึงแก่นนคร เห็นกำลังก่อสร้างสร้างสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยภาคอิสาน ภายหลังเมื่อเปิดทดลองการออกอากาศแล้วจึงรับสมัครผู้ประกาศหญิง เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้ประกาศสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ขอนแก่น ในปี 2505 มีผู้มาสมัครสอบ 150 คน หลังจากสมัครมีการทดสอบอ่าน สำเนียง เสียง ภาษา โดยมีคณะกรรมการจากหัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ ในจังหวัดขอนแก่น โดยนายรักษ์ศักดิ์ วัฒนพานิชเป็นหัวหน้ากองขณะนั้น หลังจากนั้นให้แสดงความสามารถพิเศษ ประสิทธิ์พร จารีย์รำกฤษฎาอภินิหาร ขั้นตอนต่อไปต้องทดสอบประกาศจริงเป็นเวลา 3 เดือน หลังจากนั้นจึงจะประกาศผลการสอบ จาก 150 คนเหลือ 10 คน หลังจากนั้นรอบที่ 2 ต้องทดลองออกอากาศ ประสิทธิ์พร จารีย์ได้หมายเลข 8 และคัดเหลือ 5 คน ทั้ง 5 คนนี้มีการทดสอบความประพฤติ การปฏิบัติตน มารยาทระหว่างปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งประสิทธิ์พร จารีย์ได้เป็น 1ใน 5 ผู้ประกาศหญิงชุดแรกพร้อมกับศจี มกรสาร สุมน จันทศรีคำ อารีย์ ทวีศักดิ์ ลำดวน พึ่งเนียม หลังจากนั้นจึงจะประกาศผล  ประสิทธิ์พร จารีย์ เป็นลูกจ้างประจำตำแหน่งผู้ประกาศ (2505) และเกษียณอายุราชการเมื่อ 30 กันยายน 2546 ในตำแหน่งผู้ประกาศ  ระหว่างปฏิบัติราชการจนกระทั่งเกษียณอายุราชการได้อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อสังคมด้านต่าง ๆ มากมาย จนได้รับรางวัลมากมายเช่นรางวัลเทพทองจากสมาคมนักวิทยุและโทรทัศน์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมป์ (นายวีระ ลิมปะพันธุ์ เป็นนายกสมาคม) รับมอบจาก ฯพณฯ พล.อ.ต.กำธน สินธวานนท์ องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ ในฐานะบุคคลดีเด่นด้านวิทยุกระจายเสียงประจำปี 2546 ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร ในวันอาทิตย์ที่ 15 สิงหาคม 2547 รางวัลเทพทองเป็นครั้งที่ 2 - เป็นสตรีคนแรกที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นนายกสมาคมสื่อมวลชนของจังหวัดขอนแก่น 2 สมัย ๆ ละ 2 ปี (พ.ศ. 2549 - 2553) และเป็นคนแรกผู้หญิงคนแรกที่ได้รับตำแหน่งนี้ - ในปี 2546 ได้รับเข็มเชิดชูเกียรติในฐานะที่ได้ช่วยประเทศชาติ เป็นผู้ประสานงานให้ข้อมูลกับกองทัพภาคที่ 2 เพื่อความมั่นคงของประเทศ จนได้รับโล่กำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติจาก พล.อ.อาทิตย์ กำลัง ผู้บัญชาการกองกำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติ แม่ทัพภาค 2 โดยได้ร่วมแก้ไขเหตุการณ์ไม่สงบของบ้านเมืองในวันที่ 1 - 3 เมษายน 2528 ให้กลับคืนสู่สภาพปกติ เพราะได้มีความสำนึกอันเดียวกันที่จะปกป้องเอกราชของบ้านเมืองไว้ จึงได้ร่วมกันปฏิบัติการด้วยจิตใจมั่นคงและแน่วแน่ ไม่หวั่นไหวต่ออันตรายใด ๆ อุทิศตนเพื่อหน้าที่ต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ สมกับที่เกิดมาในผืนแผ่นดินไทย ควรแก่การยกย่อง สรรเสริญเป็นอย่างยิ่ง และเคยเข้าร่วมปฏิวัติ 3 ครั้งในฐานะผู้ประสานงานในกองอำนวยการรักษาความมั่นคง โดยให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งกระจายเสียงของสถานีวิทยุแห่งประเทศไทยจังหวัดขอนแก่น  - ได้รับรางวัลสตรีดีเด่นในวันสตรีสากลของจังหวัดขอนแก่น ปี 2546 - ได้รับเชิญให้เข้าอบรมเพื่อเป็นอาสาสมัครของมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ รุ่นสุดท้าย ได้รับเลือกให้เป็นรองประธานมูลนิธิประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์จังหวัดขอนแก่น - เป็นกรรมการบริหารของสำนักเหล่ากาชาดจังหวัดขอนแก่นตั้งแต่ พ.ศ. 2510 ถึงปัจจุบัน และได้รับเหรียญสมานาคุณกาชาด จากสภากาชาดไทย ชั้น 3 ชั้น 2 ชั้น 1 โดยได้รับจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี   - ได้ร่วมฝึกลูกเสือชาวบ้านรุ่น 2 ของประเทศไทยต่อจาก กทม. ที่จังหวัดขอนแก่น ได้รับเลือกเป็นเลขานุการของรุ่น เรียกว่าลูกเสือชาวบ้านรุ่น 1 ของขอนแก่นและรุ่น 2 ของประเทศ นายบุญมา ทวิภักดิ์ อาจารย์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประธานรุ่นรับธงจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประสิทธิ์พร จารีย์รับพระราชทานพระบรมฉายาลักษณ์จากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
ประสิทธิ์พร จารีย์ 
 
 
ประสิทธิ์พร จารีย์ ผู้ประกาศรุ่นแรกของ สทท.5 ขาว-ดำ ขอนแก่น ซึ่งเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรกในภูมิภาค เกิดวันศุกร์ที่ 17 ตุลาคม 2485 เป็นชาวขอนแก่นโดยกำเนิด เติบโตและเรียนหนังสือที่กรุงเทพฯ สำเร็จ ปวส.จากโรงเรียนเอี่ยมละออ (วิทยาลัยเอี่ยมละออ กรุงเทพฯ) หลังจากนั้นกลับบ้านที่ขอนแก่น และขี่จักรยานไปเที่ยวที่บึงแก่นนคร เห็นกำลังก่อสร้างสร้างสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยภาคอิสาน ภายหลังเมื่อเปิดทดลองการออกอากาศแล้วจึงรับสมัครผู้ประกาศหญิง เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้ประกาศสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ขอนแก่น ในปี 2505 มีผู้มาสมัครสอบ 150 คน หลังจากสมัครมีการทดสอบอ่าน สำเนียง เสียง ภาษา โดยมีคณะกรรมการจากหัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ ในจังหวัดขอนแก่น โดยนายรักษ์ศักดิ์ วัฒนพานิชเป็นหัวหน้ากองขณะนั้น หลังจากนั้นให้แสดงความสามารถพิเ�
ประสิทธิ์พร จารีย์ 
 
 
อารีย์ ทวีสัตย์  1 ใน 5 ผู้ประกาศรุ่นแรก สทท.5 ขาว-ดำ ขอนแก่น (สทท.4 / สทท.11 / สทท.ขอนแก่น ) รุ่นเดียวกับประสิทธิ์พร จารีย์ เป็นคนกรุงเทพฯ บิดาเป็นข้าราชการย้ายมาทำงานที่ขอนแก่น เข้ามาทำงาน พ.ศ. 2505 ทำงานเป็นประกาศได้ปีกว่า ก็ย้ายกลับกรุงเทพฯ หลังจากนั้นมีครอบครัว และในปี 2554 ก่อนที่จะอาคารที่ทำการ สทท.5 ขอนแก่น ที่ริมบึงแก่นนคร จะประมูลทุบตึกเพื่อก่อสร้างอาคารใหม่คุณอารีย์ได้มาถ่ายรูปที่หน้าอาคารเพื่อเก็บไว้เป็นอนุสรณ์
อารีย์ ทวีสัตย์ 
 
 
เพื่อนนักเรียนของประสิทธิ์พร จารีย์สมัยเรียนหนังสือที่โรงเรียนเอี่ยมละออ กรุงเทพฯ
ประสิทธิ์พร จารีย์ 
 
 
เพื่อนนักเรียนของประสิทธิ์พร จารีย์สมัยเรียนหนังสือที่โรงเรียนเอี่ยมละออ กรุงเทพฯ
ประสิทธิ์พร จารีย์ 
 
 
หลังจากอาภัสรา หงสกุลได้เป็นนางงามจักรวาลเมื่อปี 2508 และได้มาจัดคอนเสิร์ตเพื่อหารายได้สร้างตึกโรงพยาบาลศูนย์ขอนแก่นร่วมกับสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ขอนแก่นที่ห้องส่ง โดยมีวงดนตรีเบญจสัมพันธ์ ซึ่งเป็นวงดนตรีของสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ขอนแก่น ส่วนประสิทธิ์พร จารีย์ (ซ้าย) เป็นผู้รับโทรศัพท์จากผู้มีจิตศรัทธาทางบ้านเข้ามาในห้องส่งเพื่อบริจาคหารายได้คู่กับคุณอาภัสรา หงสกุล ในครั้งนั้นหารายได้ ได้จำนวน 400,000 กว่าบ้าน ในห้องส่งมีผู้ชมจำนวนมากที่มาร่วมงาน มอบเงิน ยลโฉมอาภัสรา หงสกุล นายรักษ์ศักดิ์ วัฒนพานิชเป็นผู้สัมภาษณ์อาภัสราในห้องส่ง มีพิธีกรชายในห้องส่งคือคุณอดิศักดิ์ จำลองศุภลักษณ์ พิธีกรหญิงคือคุญเบจมาศ พัฒนศร (ตุงคะเดชะ)
ประสิทธิ์พร จารีย์ 
 
 
ประสิทธิ์พร จารีย์สำเร็จการอบรมเป็นอาสากาชาดจังหวัดขอนแก่นสาขาบำรุงใจคนไข้ จัดโดยสภากาชาดไทย ปี พ.ศ. 2510 ฝึกอบรมที่โรงพยาบาลศูนย์ขอนแก่นเป็นระยะเวลา 7 วัน โดยให้ปฏิบัติงานจริง โดยไปช่วยงานที่โรงพยาบาลศูนย์ขอนแก่น ตอนเช้าทำความสะอาดให้ผู้ป่วยเด็ก คนชราที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้  หลังจากที่จบหลักสูตรการอบรมเมื่อกองทัพต้องการความช่วยเหลือ ก็จะเรียกอาสากาชาดไปช่วยเหลือ เช่นกรณีช่องเม็ก จังหวัดอุบลราชธานี มีกรณีพิพาทระหว่างไทย - ลาว หนองคาย อุบลราชธานี ลาวได้ยิงปืนใหญ่ข้ามมายังฝั่งไทยที่ช่องเม็ก จังหวัดอุบลราชธานี ทำให้ทหารจากจังหวัดทหารบกอุบลราชธานีโดยยิงเสียชีวิตและบาดเจ็บจำนวนมาก ประสิทธิ์พร จารีย์ได้ไปทหารที่ได้รับบาดเจ็บ ที่ถูกนำมาที่ค่ายทหารบกจังหวัดอุบลราชธานีโดยช่วยปฐมพยาบาลเบื้องต้น เช่นช่วยเช็ดบาดแผล ฉีดยาแก้ปวด
ประสิทธิ์พร จารีย์ 
 
 
ประสิทธิ์พร จารีย์ ผู้ประกาศรุ่นแรกของ สทท.5 ขาว-ดำ ขอนแก่น ซึ่งเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรกในภูมิภาค เกิดวันศุกร์ที่ 17 ตุลาคม 2485 เป็นชาวขอนแก่นโดยกำเนิด เติบโตและเรียนหนังสือที่กรุงเทพฯ สำเร็จ ปวส.จากโรงเรียนเอี่ยมละออ (วิทยาลัยเอี่ยมละออ กรุงเทพฯ) หลังจากนั้นกลับบ้านที่ขอนแก่น และขี่จักรยานไปเที่ยวที่บึงแก่นนคร เห็นกำลังก่อสร้างสร้างสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยภาคอิสาน ภายหลังเมื่อเปิดทดลองการออกอากาศแล้วจึงรับสมัครผู้ประกาศหญิง เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้ประกาศสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ขอนแก่น ในปี 2505 มีผู้มาสมัครสอบ 150 คน หลังจากสมัครมีการทดสอบอ่าน สำเนียง เสียง ภาษา โดยมีคณะกรรมการจากหัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ ในจังหวัดขอนแก่น โดยนายรักษ์ศักดิ์ วัฒนพานิชเป็นหัวหน้ากองขณะนั้น หลังจากนั้นให้แสดงความสามารถพิเศษ ประสิทธิ์พร จารีย์รำกฤษฎาอภินิหาร ขั้นตอนต่อไปต้องทดสอบประกาศจริงเป็นเวลา 3 เดือน หลังจากนั้นจึงจะประกาศผลการสอบ จาก 150 คนเหลือ 10 คน หลังจากนั้นรอบที่ 2 ต้องทดลองออกอากาศ ประสิทธิ์พร จารีย์ได้หมายเลข 8 และคัดเหลือ 5 คน ทั้ง 5 คนนี้มีการทดสอบความประพฤติ การปฏิบัติตน มารยาทระหว่างปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งประสิทธิ์พร จารีย์ได้เป็น 1ใน 5 ผู้ประกาศหญิงชุดแรกพร้อมกับศจี มกรสาร สุมน จันทศรีคำ อารีย์ ทวีศักดิ์ ลำดวน พึ่งเนียม หลังจากนั้นจึงจะประกาศผล  ประสิทธิ์พร จารีย์ เป็นลูกจ้างประจำตำแหน่งผู้ประกาศ (2505) และเกษียณอายุราชการเมื่อ 30 กันยายน 2546 ในตำแหน่งผู้ประกาศ  ระหว่างปฏิบัติราชการจนกระทั่งเกษียณอายุราชการได้อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อสังคมด้านต่าง ๆ มากมาย จนได้รับรางวัลมากมายเช่นรางวัลเทพทองจากสมาคมนักวิทยุและโทรทัศน์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมป์ (นายวีระ ลิมปะพันธุ์ เป็นนายกสมาคม) รับมอบจาก ฯพณฯ พล.อ.ต.กำธน สินธวานนท์ องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ ในฐานะบุคคลดีเด่นด้านวิทยุกระจายเสียงประจำปี 2546 ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร ในวันอาทิตย์ที่ 15 สิงหาคม 2547 รางวัลเทพทองเป็นครั้งที่ 2 - เป็นสตรีคนแรกที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นนายกสมาคมสื่อมวลชนของจังหวัดขอนแก่น 2 สมัย ๆ ละ 2 ปี (พ.ศ. 2549 - 2553) และเป็นคนแรกผู้หญิงคนแรกที่ได้รับตำแหน่งนี้ - ในปี 2546 ได้รับเข็มเชิดชูเกียรติในฐานะที่ได้ช่วยประเทศชาติ เป็นผู้ประสานงานให้ข้อมูลกับกองทัพภาคที่ 2 เพื่อความมั่นคงของประเทศ จนได้รับโล่กำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติจาก พล.อ.อาทิตย์ กำลัง ผู้บัญชาการกองกำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติ แม่ทัพภาค 2 โดยได้ร่วมแก้ไขเหตุการณ์ไม่สงบของบ้านเมืองในวันที่ 1 - 3 เมษายน 2528 ให้กลับคืนสู่สภาพปกติ เพราะได้มีความสำนึกอันเดียวกันที่จะปกป้องเอกราชของบ้านเมืองไว้ จึงได้ร่วมกันปฏิบัติการด้วยจิตใจมั่นคงและแน่วแน่ ไม่หวั่นไหวต่ออันตรายใด ๆ อุทิศตนเพื่อหน้าที่ต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ สมกับที่เกิดมาในผืนแผ่นดินไทย ควรแก่การยกย่อง สรรเสริญเป็นอย่างยิ่ง และเคยเข้าร่วมปฏิวัติ 3 ครั้งในฐานะผู้ประสานงานในกองอำนวยการรักษาความมั่นคง โดยให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งกระจายเสียงของสถานีวิทยุแห่งประเทศไทยจังหวัดขอนแก่น  - ได้รับรางวัลสตรีดีเด่นในวันสตรีสากลของจังหวัดขอนแก่น ปี 2546 - ได้รับเชิญให้เข้าอบรมเพื่อเป็นอาสาสมัครของมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ รุ่นสุดท้าย ได้รับเลือกให้เป็นรองประธานมูลนิธิประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์จังหวัดขอนแก่น - เป็นกรรมการบริหารของสำนักเหล่ากาชาดจังหวัดขอนแก่นตั้งแต่ พ.ศ. 2510 ถึงปัจจุบัน และได้รับเหรียญสมานาคุณกาชาด จากสภากาชาดไทย ชั้น 3 ชั้น 2 ชั้น 1 โดยได้รับจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี   - ได้ร่วมฝึกลูกเสือชาวบ้านรุ่น 2 ของประเทศไทยต่อจาก กทม. ที่จังหวัดขอนแก่น ได้รับเลือกเป็นเลขานุการของรุ่น เรียกว่าลูกเสือชาวบ้านรุ่น 1 ของขอนแก่นและรุ่น 2 ของประเทศ นายบุญมา ทวิภักดิ์ อาจารย์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประธานรุ่นรับธงจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประสิทธิ์พร จารีย์รับพระราชทานพระบรมฉายาลักษณ์จากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
ประสิทธิ์พร จารีย์ 
 
 
ประสิทธิ์พร จารีย์ ผู้ประกาศรุ่นแรกของ สทท.5 ขาว-ดำ ขอนแก่น ซึ่งเป็นสถานีโทรทัศน์แห่งแรกในภูมิภาค เกิดวันศุกร์ที่ 17 ตุลาคม 2485 เป็นชาวขอนแก่นโดยกำเนิด เติบโตและเรียนหนังสือที่กรุงเทพฯ สำเร็จ ปวส.จากโรงเรียนเอี่ยมละออ (วิทยาลัยเอี่ยมละออ กรุงเทพฯ) หลังจากนั้นกลับบ้านที่ขอนแก่น และขี่จักรยานไปเที่ยวที่บึงแก่นนคร เห็นกำลังก่อสร้างสร้างสถานีโทรทัศน์แห่งประเทศไทยภาคอิสาน ภายหลังเมื่อเปิดทดลองการออกอากาศแล้วจึงรับสมัครผู้ประกาศหญิง เพื่อทำหน้าที่เป็นผู้ประกาศสถานีโทรทัศน์ช่อง 5 ขอนแก่น ในปี 2505 มีผู้มาสมัครสอบ 150 คน หลังจากสมัครมีการทดสอบอ่าน สำเนียง เสียง ภาษา โดยมีคณะกรรมการจากหัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ ในจังหวัดขอนแก่น โดยนายรักษ์ศักดิ์ วัฒนพานิชเป็นหัวหน้ากองขณะนั้น หลังจากนั้นให้แสดงความสามารถพิเศษ ประสิทธิ์พร จารีย์รำกฤษฎาอภินิหาร ขั้นตอนต่อไปต้องทดสอบประกาศจริงเป็นเวลา 3 เดือน หลังจากนั้นจึงจะประกาศผลการสอบ จาก 150 คนเหลือ 10 คน หลังจากนั้นรอบที่ 2 ต้องทดลองออกอากาศ ประสิทธิ์พร จารีย์ได้หมายเลข 8 และคัดเหลือ 5 คน ทั้ง 5 คนนี้มีการทดสอบความประพฤติ การปฏิบัติตน มารยาทระหว่างปฏิบัติหน้าที่ ซึ่งประสิทธิ์พร จารีย์ได้เป็น 1ใน 5 ผู้ประกาศหญิงชุดแรกพร้อมกับศจี มกรสาร สุมน จันทศรีคำ อารีย์ ทวีศักดิ์ ลำดวน พึ่งเนียม หลังจากนั้นจึงจะประกาศผล  ประสิทธิ์พร จารีย์ เป็นลูกจ้างประจำตำแหน่งผู้ประกาศ (2505) และเกษียณอายุราชการเมื่อ 30 กันยายน 2546 ในตำแหน่งผู้ประกาศ  ระหว่างปฏิบัติราชการจนกระทั่งเกษียณอายุราชการได้อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อสังคมด้านต่าง ๆ มากมาย จนได้รับรางวัลมากมายเช่นรางวัลเทพทองจากสมาคมนักวิทยุและโทรทัศน์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมป์ (นายวีระ ลิมปะพันธุ์ เป็นนายกสมาคม) รับมอบจาก ฯพณฯ พล.อ.ต.กำธน สินธวานนท์ องคมนตรี ผู้แทนพระองค์ ในฐานะบุคคลดีเด่นด้านวิทยุกระจายเสียงประจำปี 2546 ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร ในวันอาทิตย์ที่ 15 สิงหาคม 2547 รางวัลเทพทองเป็นครั้งที่ 2 - เป็นสตรีคนแรกที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นนายกสมาคมสื่อมวลชนของจังหวัดขอนแก่น 2 สมัย ๆ ละ 2 ปี (พ.ศ. 2549 - 2553) และเป็นคนแรกผู้หญิงคนแรกที่ได้รับตำแหน่งนี้ - ในปี 2546 ได้รับเข็มเชิดชูเกียรติในฐานะที่ได้ช่วยประเทศชาติ เป็นผู้ประสานงานให้ข้อมูลกับกองทัพภาคที่ 2 เพื่อความมั่นคงของประเทศ จนได้รับโล่กำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติจาก พล.อ.อาทิตย์ กำลัง ผู้บัญชาการกองกำลังร่วมรักษาความสงบแห่งชาติ แม่ทัพภาค 2 โดยได้ร่วมแก้ไขเหตุการณ์ไม่สงบของบ้านเมืองในวันที่ 1 - 3 เมษายน 2528 ให้กลับคืนสู่สภาพปกติ เพราะได้มีความสำนึกอันเดียวกันที่จะปกป้องเอกราชของบ้านเมืองไว้ จึงได้ร่วมกันปฏิบัติการด้วยจิตใจมั่นคงและแน่วแน่ ไม่หวั่นไหวต่ออันตรายใด ๆ อุทิศตนเพื่อหน้าที่ต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ สมกับที่เกิดมาในผืนแผ่นดินไทย ควรแก่การยกย่อง สรรเสริญเป็นอย่างยิ่ง และเคยเข้าร่วมปฏิวัติ 3 ครั้งในฐานะผู้ประสานงานในกองอำนวยการรักษาความมั่นคง โดยให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งกระจายเสียงของสถานีวิทยุแห่งประเทศไทยจังหวัดขอนแก่น  - ได้รับรางวัลสตรีดีเด่นในวันสตรีสากลของจังหวัดขอนแก่น ปี 2546 - ได้รับเชิญให้เข้าอบรมเพื่อเป็นอาสาสมัครของมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ รุ่นสุดท้าย ได้รับเลือกให้เป็นรองประธานมูลนิธิประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์จังหวัดขอนแก่น - เป็นกรรมการบริหารของสำนักเหล่ากาชาดจังหวัดขอนแก่นตั้งแต่ พ.ศ. 2510 ถึงปัจจุบัน และได้รับเหรียญสมานาคุณกาชาด จากสภากาชาดไทย ชั้น 3 ชั้น 2 ชั้น 1 โดยได้รับจาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี   - ได้ร่วมฝึกลูกเสือชาวบ้านรุ่น 2 ของประเทศไทยต่อจาก กทม. ที่จังหวัดขอนแก่น ได้รับเลือกเป็นเลขานุการของรุ่น เรียกว่าลูกเสือชาวบ้านรุ่น 1 ของขอนแก่นและรุ่น 2 ของประเทศ นายบุญมา ทวิภักดิ์ อาจารย์มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประธานรุ่นรับธงจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประสิทธิ์พร จารีย์รับพระราชทานพระบรมฉายาลักษณ์จากสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี
ประสิทธิ์พร จารีย์